ภาพแสดงเปรียบเทียบกฎหมายศุลกากร 2469 กับ 2560
ภาพแสดงกฎหมายศุลกากร 2469
ภาพแสดงกฎหมายศุลกากร 2469 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ภาพแสดงหมวด-ส่วนกฎหมายศุลกากร 2560
ตารางเปรียบเทียบการแก้ไขกฎหมายศุลกากรปี
2560 กับปี 2469
พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2560
|
พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2469
|
มาตรา
4
|
มาตรา
2
|
มาตรา
4 วรรค 1 “อากร”
|
มาตรา
2 วรรค 9
|
มาตรา
4 วรรค
2 “ผู้นําของเข้า”
|
มาตรา
2 วรรค 11
|
มาตรา
4 วรรค 3 “ผู้ส่งของออก”
|
มาตรา
2 วรรค 11
|
มาตรา
4 วรรค
4 “ของต้องห้าม”
|
มาตรา
27
|
มาตรา
4 วรรค 5 “ของต้องกํากัด”
|
มาตรา
27
|
มาตรา
4 วรรค
6 “ด่านศุลกากร”
|
มาตรา
3 วรรค 3 ฉบับ 7 2480
|
มาตรา
4 วรรค 7 “ด่านพรมแดน”
|
มาตรา
3 วรรค 2 ฉบับ 7 2480
|
มาตรา
4 วรรค
8 “เรือ”
|
มาตรา
2 วรรค 7
|
มาตรา
4 วรรค 9 “นายเรือ”
|
มาตรา
2 วรรค 8
|
มาตรา
4 วรรค
10 “เขตแดนทางบก”
|
มาตรา
3 วรรค 5 ฉบับ 7 2480
|
มาตรา
4 วรรค 11 “ทางอนุมัติ”
|
มาตรา
3 วรรค 1 ฉบับ 7 2480
|
มาตรา
4 วรรค
12 “การผ่านแดน”
|
มาตรา
2 วรรค 16
|
มาตรา
4 วรรค 13 “การถ่ายลํา”
|
มาตรา
2 วรรค 17
|
มาตรา
4 วรรค
14 “พนักงานศุลกากร”
|
มาตรา
2 วรรค 4, 5 , 3 วรรค 7 ฉบับ 7 2480
|
มาตรา
4 วรรค 15 “อธิบดี”
|
มาตรา
2 วรรค 3
|
มาตรา
4 วรรค 16 “รัฐมนตรี”
|
มาตรา
2 วรรค 2
|
มาตรา
5 (1) กําหนดท่า ที่ หรือสนามบินใด ๆ
|
มาตรา
4
|
มาตรา
5 (2) กําหนดที่ใด ๆ ให้เป็นด่านพรมแดน
|
มาตรา
3 วรรค 2 ฉบับ 7 2480
|
มาตรา
5
(3) กําหนดค่าธรรมเนียม
|
มาตรา
122
|
มาตรา
5 (4) กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ
|
มาตรา
-
|
มาตรา
5
(5) กําหนดชนิดฯ
สินค้าอันตราย
|
มาตรา
6 (6)
|
มาตรา
5
(6) กําหนดกิจการอื่น
|
มาตรา
-
|
หมวด
1 บททั่วไป
|
|
มาตรา
6 ในกรณีที่มีพฤติการณ์พิเศษ
|
มาตรา
122, 6 ฉบับ 8 2480
|
มาตรา
7 อธิบดีอาจเรียกให้ประกัน
|
มาตรา
98
|
มาตรา
8 เอกสารให้แปลเป็นภาษาไทย
|
มาตรา
113
|
มาตรา
9 ร้องขอให้ดําเนินพิธีการศุลกากร
|
มาตรา
106 - 109
|
มาตรา
10 ขอสําเนาใบรับรอง
|
มาตรา
116
|
มาตรา
11 กระทําในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
|
มาตรา
109/1
|
มาตรา 12 ความผิดและโทษเช่นเดียวกับเอกสาร
|
มาตรา
109/2
|
หมวด
2 การจัดเก็บอากร
|
|
ส่วนที่
1 การเสียอากร
|
|
มาตรา
13 เรียกเก็บอากรและความรับผิด
|
มาตรา
10 วรรค 1, 10 ทวิ, ตรี วรรค 1
|
มาตรา
14 การคํานวณอากรสําหรับของที่นําเข้า
|
มาตรา
10 ทวิ วรรค 2
|
มาตรา
15 การคํานวณอากรสําหรับของที่ส่งออก
|
มาตรา
10 ตรี วรรค 2
|
มาตรา
16 “ราคาศุลกากร”
|
มาตรา
2 วรรค 12
|
มาตรา
17 การกําหนดราคาศุลกากร
|
มาตรา
11
|
มาตรา
18 ขอทราบราคาศุลกากร ถิ่นกําเนิด
|
มาตรา
13/1 - 4
|
ส่วนที่
2 การประเมินอากร
|
|
มาตรา
19 อํานาจประเมินอากร
|
มาตรา
10 วรรค 2, 3
|
มาตรา
20 แบบแจ้งการประเมินอากร
|
มาตรา
112 ทวิ
|
มาตรา
21 อายุความเรียกเก็บอากร 10 ปี
|
มาตรา
10 วรรค 2, 3
|
มาตรา
22 เงินเพิ่มและเบี้ยปรับ
|
มาตรา 112 จัตวา, แก้ไขเพิ่มเติมการจ่ายเงินเพิ่มกรณีชำระภาษีไม่ครบ ต้องชำระภาษีเพิ่มเติมพร้อมเงินเพิ่ม โดยกำหนดให้มีเพดานการจ่ายเงินเพิ่มร้อยละหนึ่งต่อเดือน ไม่เกินค่าภาษีอากรที่ต้องชำระ |
มาตรา
23 กักของชดใช้ค่าอากร
|
มาตรา
112 เบญจ การบังคับชำระหนี้
|
มาตรา
24 ยึดหรืออายัดทรัพย์สินทั่วราชอาณาจักร
|
มาตรา 303 – 323 ป.วิ.แพ่ง, แก้ไขเพิ่มเติมการบังคับคดี โดยกำหนดให้พนักงานศุลกากรมีอำนาจหน้าที่ในการยึด อายัดทรัพย์สินของลูกหนี้ได้ เช่นเดียวกับที่กำหนดไว้ในประมวลรัษฎากร |
ส่วนที่
3 การคืนอากร
|
|
มาตรา
25 ขอคืนอากรขาเข้า
|
มาตรา
10 วรรค 4, 5
|
มาตรา
26 ขอคืนอากรขาออก
|
มาตรา
10 ตรี วรรค 3
|
มาตรา
27 คืนพร้อมดอกเบี้ย
|
มาตรา
112 จัตวา วรรค 4
|
มาตรา
28 Re-Export
|
มาตรา
19 ฉบับ 9 2482
|
มาตรา
29 การขอคืนอากรผลิตเพื่อการส่งออก
|
มาตรา
19 ทวิ ฉบับ 9 2482
|
มาตรา
30 การวางประกันผลิตฯ ส่งออก
|
มาตรา
19 ตรี ฉบับ 9 2482
|
มาตรา
31 การโอนของตามมาตรา 29 เข้าคลังฯ
|
มาตรา
19 จัตวา ฉบับ 9 2482
|
ส่วนที่
4 การวินิจฉัยอากรและการอุทธรณ์การประเมินอากร
|
|
มาตรา
32 คณะกรรมการวินิจฉัยอากรศุลกากร
|
มาตรา
2 ทวิ
|
มาตรา
33 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
|
มาตรา
2 ทวิ, ตรี
|
มาตรา
34 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่ง
|
มาตรา
2 จัตวา
|
มาตรา
35 การประชุมคณะกรรมการวินิจฉัยอากรฯ
|
มาตรา
2 เบญจ
|
มาตรา
36 คณะกรรมการวินิจฉัยอากรฯ มีอำนาจ
|
มาตรา
2 สัตต
|
มาตรา
37 การอุทธรณ์การประเมินอากร
|
มาตรา
112 ฉ
|
มาตรา
38 การทุเลาการเสียอากร
|
มาตรา
112 โสฬส
|
มาตรา
39 คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
|
มาตรา
112 สัตต
|
มาตรา
40 การกำหนดคณะกรรมการฯ เพิ่มเติม
|
เพิ่มเติมใหม่
เนื่องจากมีปริมาณงานจำนวนมาก
|
มาตรา
41 ระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์
|
แก้ไขเพิ่มเติมระยะเวลาการพิจารณาอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ โดยกำหนดระยะเวลาการพิจารณาเป็น 180 วัน นับแต่วันที่พนักงานศุลกากรได้รับอุทธรณ์และเอกสารถูกต้องครบถ้วน และกำหนดให้สามารถมีคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้หลายคณะ |
มาตรา
42 สิทธินำคดีไปฟ้องต่อศาล
|
เพิ่มเติมใหม่
สิทธิของผู้อุทธรณ์ที่จะฟ้องศาล
|
มาตรา
43 การประชุมของคณะกรรมการ
|
มาตรา
112 ทศ, เอกาทศ
|
มาตรา
44 การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
|
มาตรา
112 เตรส คณะอนุกรรมการ
|
มาตรา
45 อำนาจออกหนังสือหรือมาให้ถ้อยคำและการยกอุทธรณ์
|
มาตรา 112 เทวาทศ, แก้ไขเพิ่มเติมการยกอุทธรณ์ โดยให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีอำนาจยกอุทธรณ์ ในกรณีที่ผู้อุทธรณ์ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 204 (กรณีไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียก หรือไม่ให้ถ้อยคำ) โดยไม่มีเหตุอันควร และกรณีผู้อุทธรณ์ยื่นคำร้องขอถอนอุทธรณ์เท่านั้น |
มาตรา
46 การจำหน่ายอุทธรณ์
|
เพิ่มเติมใหม่
การจำหน่ายอุทธรณ์
|
มาตรา
47 คำวินิจฉัยให้เป็นที่สุด
|
มาตรา
112 ปัณรส
|
มาตรา
48 สิทธิฟ้องเป็นคดีต่อศาล
|
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา 49 เป็นเจ้าพนักงานตาม
ป.อาญา
|
มาตรา
2 ฉ, 112 จตุทศ
|
หมวด
3
การนำของเข้าและการส่งของออก
|
|
มาตรา
50 การนำของเข้า-ส่งของออกเป็นอันสำเร็จ
|
มาตรา 41, 46, 121, 3 (1) ฉบับ 8 2480, แก้ไขเพิ่มเติมความหมายของการนำเข้าสำเร็จทางไปรษณีย์ เพื่อให้มีความชัดเจนตามกฎหมายยิ่งขึ้น |
มาตรา
51 หลักในการนำของเข้า-ส่งของออก
|
มาตรา
40, 45
|
มาตรา
52 การยื่นใบขนสินค้าตามแบบ
|
มาตรา
10, 11 ฉบับ 9 2482
|
มาตรา
53 ของติดตัวผู้โดยสารไม่ต้องยื่นใบขนฯ
|
มาตรา
17
|
มาตรา
54 ใบขอเปิดตรวจ (Bill of sight)
|
มาตรา
12 ฉบับ 9 2482
|
มาตรา
55 การวางประกันสำหรับของที่กำลังผ่านพิธีการศุลกากร
|
มาตรา
112, 112 ทวิ
|
มาตรา
56 การบรรทุกหรือขนถ่ายในเวลาราชการ
|
มาตรา
110, 111
|
มาตรา
57 ผู้นำของเข้า-ออกต้องเสียค่าใช้จ่ายเอง
|
มาตรา
117
|
มาตรา
58 ต้องขนถ่ายในเขตขนถ่ายของเท่านั้น
|
มาตรา
6(1)
|
มาตรา
59 ต้องมีเครื่องหมายหรือเลขหมายกำกับหีบห่อ
|
มาตรา
118
|
มาตรา
60 ความรับผิดและโทษทางไปรษณีย์
|
มาตรา
35
|
มาตรา
61 ให้นำบทบัญญัติโทษมาใช้บังคับกับของทางไปรษณีย์ด้วย
|
มาตรา
36
|
มาตรา
62 อำนาจตรวจ/กักห่อพัสดุไปรษณีย์
|
มาตรา
37
|
มาตรา
63 หน้าที่เก็บและรักษาบัญชี
|
มาตรา
113 ทวิ
|
ส่วนที่ 1 การนำของเข้าและการส่งของออกทางทะเล
|
|
มาตรา
64 รายงานเรือเข้าและบัญชีสินค้าสำ
|
มาตรา 38, แก้ไขเพิ่มเติมระยะเวลาในการรายงานเรือ เพื่อให้การรายงานอากาศยานเข้า-ออก สอดคล้องกับความเป็นจริง โดยกำหนดให้เป็นไปตามที่อธิบดีกำหนด |
มาตรา
65 สั่งห้ามเคลื่อนย้ายของในเรือ
|
มาตรา
38
|
มาตรา
66 สั่งให้เปิดหีบห่อและยึดของต้องห้าม
|
มาตรา
39
|
มาตรา
67 เรือมาถึงเขตท่าต้องหยุดลอยลำ ณ ด่านตรวจ
|
มาตรา
21
|
มาตรา
68 เก็บของในเรือเกิน 21 วัน
|
มาตรา
43
|
มาตรา
69 กักเรือเมื่อขนของเกิน 21 วัน
|
มาตรา
44
|
มาตรา
70 ใบปล่อยเรือขาเข้า
|
มาตรา
48, 49
|
มาตรา
71 ใบปล่อยเรือขาออกและรายงานเรืออก
|
มาตรา
49, 50
|
มาตรา
72 เรือไปยังท่าที่เป็นด่านศุลกากรแห่งอื่น
|
มาตรา
50
|
มาตรา
73 คืนอาวุธปืน กระสุนปืน ดินปืน
|
มาตรา
22
|
มาตรา
74 เรือผ่านด่านตรวจต้องลดความเร็ว
|
มาตรา
53
|
มาตรา
75 เก็บค่าธรรมเนียมบรรทุกของขาออกเกิน 14 วันหรือกักเรือ
|
มาตรา
54
|
มาตรา
76 ผู้ส่งของออกต้องแจ้งเหตุที่ไม่ส่งออกภายใน ๓ วัน/ริบของทำทัณฑ์บนหรือมีประกัน
|
มาตรา
55, , เพิ่มเติมเพื่อกำหนดระยะเวลาส่งออกทางทะเลให้ชัดเจน
|
มาตรา
77 เรือจะออกจากท่าต้องชักธงลา
|
มาตรา
57 ธงลา (Blue
Peter)
|
มาตรา
78 กำหนดเขตที่จอดเรือภายนอก
|
มาตรา
72 กำหนดที่ทอดเรือภายนอก
|
มาตรา
79 การขออนุญาตขนถ่ายของในเขตที่จอดเรือภายนอก
|
มาตรา
74
|
มาตรา
80 ใบอนุญาตให้นำของในเรือลำเลียงเข้าไปยังเขตท่าที่
|
มาตรา
80
|
มาตรา
81 การขนถ่ายอาวุธปืน กระสุนปืน ดินปืน หรือของต้องกำกัด
|
มาตรา
75
|
มาตรา
82 บัญชีสินค้าที่ขนถ่ายโดยเรือลำเลียง
|
มาตรา
82, 85
|
มาตรา
83 การบรรทุกของลงในเรือหรือบรรทุกลงไม่หมด ณ ที่จอดเรือภายนอก
|
มาตรา
83
|
มาตรา
84 รับใบปล่อยเรือจากศุลกากร
|
มาตรา
81
|
มาตรา
85 ใบปล่อยเรือขาออกและธงลง
|
มาตรา
86
|
ส่วนที่ 2 การนำของเข้าและการส่งของออกทางบก
|
|
มาตรา
86 ต้องขนส่งตามทางอนุมัติ
และภายในกำหนดเวลาที่ประกาศ
|
มาตรา
5 (ฉบับ 7) 2480
|
มาตรา
87 การขนส่งตามลำน้ำที่เป็นเขตแดนทางบก
|
มาตรา
6 (ฉบับ 7) 2480
|
มาตรา
88 ข้อปฏิบัติสำหรับผู้ขนส่งทางบกเข้ามา
|
มาตรา
7 (ฉบับ 7) 2480
|
มาตรา
89 ข้อปฏิบัติสำหรับผู้ขนส่งทางบกออกไป
|
มาตรา
8 (ฉบับ 7) 2480
|
มาตรา
90 มิได้ส่งออกภายใน 7 วันต้องแจ้งเหตุภายใน 10 วัน
|
มาตรา
55, เพิ่มเติมเพื่อกำหนดระยะเวลาส่งออกทางบกให้ชัดเจน
|
มาตรา
91 การขนส่งของผ่านเขตแดนทางบกโดยวิธีการอื่น
|
มาตรา
9 (ฉบับ 7) 2480
|
ส่วนที่ 3 การนำของเข้าและการส่งของออกทางอากาศ
|
|
มาตรา
92 อากาศยานต้องลงในหรือขึ้นจากสนามบินที่เป็นด่านศุลกากร
|
มาตรา
5 (ฉบับ 8) 2480
|
มาตรา
93 กรณีที่อากาศยานต้องลงในหรือขึ้นจากที่ใดนอกจากสนามบินที่เป็นด่านศุลกากร
|
มาตรา
6 (ฉบับ 8) 2480
|
มาตรา
94 การทำรายงานอากาศยานเข้า
|
มาตรา 15 ฉบับ 8 2480, แก้ไขเพิ่มเติมระยะเวลาในการรายงานเรือ เพื่อให้การรายงานอากาศยานเข้า-ออก สอดคล้องกับความเป็นจริง โดยกำหนดให้เป็นไปตามที่อธิบดีกำหนด |
มาตรา
95 หน้าที่ของผู้ควบคุมอากาศยานเข้ามา
|
มาตรา
15, 16 (ฉบับ 8) 2480
|
มาตรา
96 ใบปล่อยอากาศยานขาออก
|
มาตรา
16 (ฉบับ 8) 2480
|
มาตรา
97 สนามบินที่เป็นด่านศุลกากรแห่งอื่นในราชอาณาจักร
|
มาตรา
17 (ฉบับ 8) 2480
|
มาตรา
98 ต้องแจ้งเหตุที่ไม่สามารถนำของนั้นบรรทุกลงภายใน 3 วัน
|
มาตรา
55, เพิ่มเติมเพื่อกำหนดระยะเวลาส่งออกทางอากาศยานให้ชัดเจน
|
ส่วนที่
4 ตัวแทน
|
|
มาตรา
99 ตัวแทน
|
มาตรา
106
|
มาตรา
100 ผู้รับมอบอำนาจ
|
มาตรา
107
|
มาตรา
101 การสั่งพักใช้หรือเพิกถอนการอนุญาต
|
มาตรา
107, 109
|
หมวด 4
การผ่านแดน การถ่ายลำ และของตกค้าง
|
|
ส่วนที่ 1 การผ่านแดนและการถ่ายลำ
|
|
มาตรา
102 การผ่านแดน-ถ่ายลำภายใน 30 วัน
|
มาตรา
58
|
มาตรา
103
ไม่นำออกภายใน 30 วันตกเป็นของแผ่นดิน
|
มาตรา
58, กำหนดเวลาและวิธีการจัดการให้ชัดเจน
|
มาตรา
104 อำนาจตรวจหรือค้นในของ 4 ลักษณะ
|
มาตรา
58/1
|
มาตรา
105 ริบของตามมาตรา 104
|
มาตรา
58/1
|
มาตรา
106 ให้นำข้อห้ามหรือข้อจำกัดมาบังคับใช้
|
เพิ่มเติมบทบัญญัติการผ่านแดนและการถ่ายลำ โดยกำหนดให้นำข้อห้ามข้อจำกัดไปใช้กับของที่นำเข้ามาเพื่อการผ่านแดนหรือการถ่ายลำได้เท่าที่จำเป็นฯ |
ส่วนที่ 2 ของตกค้าง
|
|
มาตรา
107 ของตกค้างเกิน 30 วัน
|
มาตรา 61, แก้ไขเพิ่มเติมของตกค้างโดยกำหนดระยะเวลาของของตกค้างให้เร็วขึ้นจาก 2 เดือน เหลือ 30 วัน เพื่อเร่งรัดการจัดเก็บภาษีและเพื่อให้การใช้พื้นที่บริเวณเขตท่าเป็นไปอย่างเหมาะสม |
มาตรา
108
การดำเนินการกับของตกค้าง
|
มาตรา
61
|
มาตรา
109 ของสด ของเสียได้บูดเน่าหรือเสียแล้ว
|
มาตรา
62
|
มาตรา
110 การจัดการเงินที่ได้จากขายทอดตลาด
|
มาตรา
63
|
หมวด 5
คลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพักสินค้า ที่มั่นคง และท่าเรือรับอนุญาต
|
|
ส่วนที่ 1 การจัดตั้ง
|
|
มาตรา
111 การจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บน
โรงพักสินค้า หรือที่มั่นคง ท่าเรือรับอนุญาต
|
มาตรา
6, 8, 8 ทวิ
|
มาตรา
112
ใบอนุญาตให้จัดตั้งตาม
ม.111
|
เพิ่มเติมใหม่ ใบอนุญาตให้จัดตั้งคลังสินค้าฯลฯ
|
มาตรา
113 ต้องเสียค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมรายปี
|
มาตรา
6, 7, 8, 8 ทวิ, 97 ตรี อัตราค่าธรรมเนียมตามใบแนบ ศ.6
|
มาตรา
114 การขอรับใบแทนใบอนุญาต
|
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
115 ต้องแสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผย
|
เพิ่มเติมใหม่
|
ส่วนที่ 2 การดำเนินการ
|
|
มาตรา
116 คลังสินค้าทัณฑ์บนดำเนินการได้ใน
3 ลักษณะ
|
มาตรา
8, 8 ทวิ
|
มาตรา
117
การเรียกประกันจากผู้ได้รับให้จัดตั้ง
|
มาตรา
8 วรรค 2, 8 ทวิ,
|
มาตรา
118 การตรวจของที่เก็บไว้ในคลังสินค้า
|
มาตรา
6 (2)
|
มาตรา
119 การสั่งให้เอาของที่ยังไม่ได้ตรวจเข้าเก็บ
|
มาตรา
6 (5)
|
มาตรา
120 ต้องเก็บของไว้ในหีบห่อเดิมที่นำเข้า - ริบหากไม่ได้รับอนุญาต
|
มาตรา
89
|
มาตรา
121 ห้ามเคลื่อนย้ายของที่ยังมิได้ตรวจ -
ริบหากไม่ได้รับอนุญาต
|
มาตรา
6 (4)
|
มาตรา
122
การย้ายของไปเก็บคลังสินค้าอื่น
|
มาตรา
97
|
มาตรา
123 หลักเกณฑ์ วิธีการ เก็บของ
|
มาตรา
6, 8
|
มาตรา
124 หลักการประเมินของในคลังสินค้าทัณฑ์บน
|
มาตรา
87, 88
|
มาตรา
125 ของตามปริมาณที่แตกต่างกันนั้นให้ถือว่าเป็นของที่ยังมิได้ผ่านพิธีการศุลกากร
|
มาตรา
96
|
มาตรา
126 การยกเว้นอากรขาเข้า-ออกแก่ของที่ปล่อยออกไปจากคลังสินค้าทัณฑ์บนเพื่อส่งออก
|
มาตรา
88
|
มาตรา
127 สิทธิประโยชน์เมื่อนำของเข้าไปในคลังสินค้าทัณฑ์บน
|
มาตรา
88
|
มาตรา
128 การยกเว้นหรือคืนอากรสำหรับของที่สูญหายหรือถูกทำลายโดยเหตุสุดวิสัยฯ
|
มาตรา
95, เพิ่มเติมแยกให้ชัดของใน 4 ลักษณะที่จะได้สิทธิยกเว้นหรือคืนอากร
|
มาตรา
129
การแจ้งเลิกการดำเนินการ
|
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
130 การดำเนินการกับของหลังเลิกดำเนินการ
|
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
131 การคำนวณอากรหลังเพิกถอนใบอนุญาต
|
เพิ่มเติมใหม่
|
ส่วนที่
3 การพักใช้และเพิกถอนใบอนุญาต
|
|
มาตรา
132 การสั่งพักใช้ใบอนุญาต
|
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
133 การสั่งยกเลิกคำสั่งพักใช้ใบอนุญาต
|
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
134 การสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
|
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
135 วิธีการแจ้งคำสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
|
เพิ่มเติมใหม่
|
หมวด
6 เขตปลอดอากร
|
|
ส่วนที่
1 การจัดตั้งเขตปลอดอากร
|
|
มาตรา
136 การจัดตั้งเขตปลอดอากร
|
มาตรา
97 ตรี
|
มาตรา
137
ยกเว้นหรือคืนอากรแก่ของที่นำเข้า
|
มาตรา
97 เบญจ
|
มาตรา
138 คุณสมบัติของผู้ขอจัดตั้ง
|
มาตรา
97 ตรี, ปก.45/2545, คป.19/2545
|
มาตรา
139 ต้องเสียค่าธรรมเนียมรายปี
|
มาตรา
97 ตรี
|
มาตรา
140 การขอรับใบแทนใบอนุญาต
|
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
141 ต้องแสดงใบอนุญาตหรือใบแทนฯ
|
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
142 การแจ้งเลิกการดำเนินการ
|
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
143 การดำเนินการกับของหลังจากแจ้งการเลิกการดำเนินการ
|
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
144 ภาระอากรเกิดขึ้นนับแต่นับแต่วันที่อธิบดีมีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
|
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
145 ให้นำบทบัญญัติคลังสินค้าทัณฑ์บนฯ มาใช้บังคับกับการพักใช้และการเพิกถอนใบอนุญาต
|
เพิ่มเติมใหม่
|
ส่วนที่ 2 การขออนุญาตประกอบกิจการในเขตปลอดอากร
|
|
มาตรา
146 การขออนุญาตประกอบกิจการ
|
มาตรา
97 ตรี, เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
147
คุณสมบัติผู้ยื่นคำขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการ
|
มาตรา
97 ตรี, ปก.45/2545, คป.19/2545
|
มาตรา
148 ให้นำบทบัญญัติใบอนุญาตจัดตั้งรวมทั้งเกี่ยวกับโทษมาบังคับใช้
|
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
149 ต้องประกอบกิจการที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
|
มาตรา
97 นว
|
มาตรา
150 การกำหนดประเภทหรือชนิดแห่งของที่จะนำเข้าไปในหรือปล่อยออก
|
มาตรา
97 จัตวา
|
ส่วนที่ 3 สิทธิประโยชน์ในเขตปลอดอากร
|
|
มาตรา
151 ของที่นำเข้ามาในประเทศเพื่อนำเข้าไปในเขตปลอดอากรได้รับยกเว้นอากรขาเข้า
|
มาตรา
97 เบญจ
|
มาตรา
152
ของจะได้รับยกเว้นกฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับการควบคุมมาตรฐานหรือคุณภาพ
การประทับตราหรือเครื่องหมายใด ๆ
|
มาตรา
97 สัตต
|
มาตรา
153 ของจะได้รับยกเว้นหรือคืนอากรโดยให้ถือว่าของนั้นได้ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร
|
มาตรา
97 อัฏฐ
|
มาตรา
154 ภาระอากรเกิดขึ้นในเวลาที่ปล่อยของนั้นออกไปจากเขตปลอดอากร
|
มาตรา
97 นว, 10 ทวิ วรรค 3
|
มาตรา
155 การนำของออกจากเขตปลอดอากรเพื่อใช้หรือจำหน่ายภายในประเทศ
|
มาตรา
97 นว
|
มาตรา
156 การควบคุมของในเขตปลอดอากร
|
มาตรา
97 ทศ
|
หมวด
7
พนักงานศุลกากร
|
|
มาตรา
157 อำนาจเข้าไป/จับกุม/ยึด-อายัด/เรียก ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัย
|
มาตรา
20, 115 ทวิ, ตรี
|
มาตรา
158 อำนาจตรวจและเอาซักตัวอย่างของที่กำลังผ่านพิธีการศุลกากรหรืออยู่ในกำกับ
|
มาตรา
14
|
มาตรา
159 อำนาจเข้าไปในสถานประกอบการเพื่อตรวจสอบไม่เกิน ๕ ปี
|
มาตรา
14/1
|
มาตรา
160 อำนาจสั่งให้หยุดรถเพื่อตรวจหรือค้น หรือบุคคลที่อยู่ในรถนั้นเมื่อมีเหตุอันควรสงสัย
|
มาตรา
19, 9 ฉบับ 7 2480
|
มาตรา
161 อำนาจตรวจหรือค้นหีบห่อผู้โดยสาร และยึดหีบห่อของนั้นไว้
|
มาตรา
17
|
มาตรา
162 อำนาจเข้าไปตรวจของ ณ สถานประกอบการ ฯลฯ ตามที่ผู้เกี่ยวข้องร้องขอ
|
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
163 ตั้งด่านตรวจเรือ วางพนักงานประจำเรือ และหยุดลอยลำที่ด่านตรวจ
|
มาตรา
5, 22
|
มาตรา
164 อำนาจสั่งให้เรือหยุดลอยลำหรือนำเรือไปยังที่ใดที่หนึ่ง
|
มาตรา
23
|
มาตรา
165 ริบเรือไม่เกิน 250 ตันกรอส หากใช้ในการย้ายถอนซ้อนเร้น
ถ้าเกินศาลสั่งริบได้
|
มาตรา
32
|
มาตรา
166 ริบของ 4 อย่างคือ-ที่ยังมิได้เสียอากร/ต้องห้าม/ต้องกำกัด/ที่ยังมิได้ผ่านพิธีการศุลกากร
|
มาตรา
27, 17 (ฉบับ 9) 2482
|
มาตรา
167 อำนาจยึด/อายัดสิ่งใด ๆ
อันจะพึงต้องริบหรือเป็นที่สงสัยว่าจะพึงต้องริบตาม พ.ร.บ.นี้
|
มาตรา
24, 115 ทวิ อายัดเอกสาร และอายัดตาม ป.อาญา มาตรา 141, 187
|
มาตรา
168
ศาลสั่งริบของที่มิได้เป็นของผู้กระทำความผิด
หากรู้เห็นหรือมิได้ระมัดระวังมิให้เกิด
|
มาตรา
32 ทวิ
|
มาตรา
169 บันทึกข้อเท็จจริงที่ได้พบเห็นให้สันนิษฐานว่าบันทึกนั้นเป้นความจริง
|
มาตรา
10 (ฉบับ 12) 2497
|
มาตรา
170 ของหรือสิ่งที่ยึดไว้ตาม พรบ. นี้หรือ กม.
อื่นที่เกี่ยวข้องต้องส่งมอบให้ พนง. ศุลกากร
|
มาตรา
25 วรรค 1
|
มาตรา
171 ของสดเสียง่ายที่ยึดจะสั่งให้ขายทอดตลาดฯ
ก่อนที่จะตกเป็นของแผ่นดินก็ได้
|
มาตรา
25 วรรค 2
|
มาตรา
172 ให้อำนวยความสะดวกตามสมควร ในการปฏิบัติหน้าที่ของ พนง. ศุลกากร
|
มาตรา
115 เบญจ
|
มาตรา
173 ต้องแสดงบัตรประจำตัว ในการปฏิบัติหน้าที่ของ พนง. ศุลกากร
|
มาตรา
115 ฉ
|
มาตรา
174 พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ ในความผิดที่เกิดขึ้นในทะเลอาณาเขต
|
มาตรา
20 ทวิ
|
หมวด
8
อำนาจทางศุลกากรในพื้นที่เฉพาะ
|
|
ส่วนที่
1 เขตควบคุมศุลกากร
|
|
มาตรา
175 กำหนดเขตควบคุมศุลกากร มีอำนาจตรวจตรา/ตรวจค้น/จับกุม-โดยไม่ต้องมีหมาย
|
มาตรา
12 (ฉบับ 12) 2497
|
มาตรา
176
ต้องจัดให้มีบัญชีเพื่อแสดงรายละเอียดแห่งของนั้นภายในเขตควบคุมศุลกากร
|
มาตรา
13 (ฉบับ 12) 2497
|
มาตรา
177 กำหนดบริเวณพิเศษเพื่อควบคุมการขนย้ายของภายในเขตควบคุมศุลกากร
|
มาตรา
14 (ฉบับ 12) 2497
|
ส่วนที่ 2 พื้นที่ควบคุมร่วมกัน
|
|
มาตรา
178 พื้นที่ควบคุมร่วมกัน
|
มาตรา
37 โสฬส
|
มาตรา
179
ศุลกากรมีอำนาจเหมือนเขตศุลกากร
|
มาตรา
37 สัตตรส
|
มาตรา
180 ถือว่าเป็นการปฏิบัติหน้าที่ในราชอาณาจักร
|
มาตรา
37 อัฏฐารส
|
มาตรา
181 การดำเนินการในกรณีที่มีการกระทำความผิดตาม พ.ร.บ.นี้
|
มาตรา
37 เอกูนวีสติ
|
มาตรา
182 การร้องขอให้ดำเนินการตาม พ.ร.บ. นี้
|
มาตรา
37 วีสติ
|
มาตรา
183 อธิบดีมีอำนาจออกระเบียบ
|
มาตรา
37 เอกวีสติ
|
ส่วนที่
3 การค้าชายฝั่ง
|
|
มาตรา
184 การขนส่งทางทะเลจากท่าหนึ่งไปท่าหนึ่งในราชอาณาจักร
|
มาตรา
64
|
มาตรา
185
บัญชีสินค้าให้ถือว่าเป็นใบปล่อยสินค้าและปล่อยเรือ
|
มาตรา
67, 68
|
มาตรา
186 นายเรือเก็บรักษาบัญชีสินค้า
|
มาตรา
71
|
มาตรา
187 ห้ามมิให้ขนถ่ายของจากเรือในระหว่างเดินทาง
|
มาตรา
66
|
ส่วนที่
4 เขตต่อเนื่อง
|
|
มาตรา
188 ต้องปฏิบัติตามคำสั่งอันควร
|
มาตรา
37 ทวิ
|
มาตรา
189
ห้ามมิให้ขนถ่ายของใด ๆ
|
มาตรา
37 ตรี
|
มาตรา
190 ให้นำบทบัญญัติภายในและโทษมาใช้
|
มาตรา
37 จัตวา
|
มาตรา
191 อำนาจตรวจ ค้น จับกุมหรือดำเนินคดี
|
มาตรา
37 เบญจ
|
ส่วนที่
5 พื้นพัฒนาร่วมกัน
|
|
มาตรา
192 พื้นที่พัฒนาร่วมตาม กม. ไทย-มาเลฯ
|
มาตรา
37 ฉ
|
มาตรา
193
การจัดระเบียบการเคลื่อนย้าย
|
มาตรา
37 สัตต
|
มาตรา
194 การใช้อำนาจในพื้นที่พัฒนาร่วม
|
มาตรา
37 อัฏฐ
|
มาตรา
195 หลักเกณฑ์การเคลื่อนย้ายของใด ๆ
|
มาตรา
37 นว
|
มาตรา
196 ของต้องห้ามไม่อนุญาตให้นำเข้า
|
มาตรา
37 ทศ
|
มาตรา
197 ให้ใช้แบบศุลกากรตามที่กำหนด
|
มาตรา
37 เอกาทศ
|
มาตรา
198 ที่ทำการศุลกากรร่วม
|
มาตรา
37 ทวาทศ
|
มาตรา
199 การกระทำผิดในพื้นที่พัฒนาร่วม
|
มาตรา
37 เตรส
|
มาตรา
200 ราชอาณาจักรหมายถึงพื้นที่พัฒนาฯ
|
มาตรา
37 จตุทศ
|
มาตรา
201 เขตอำนาจศาลในพื้นที่พัฒนาร่วม
|
มาตรา
37 ปัญจทศ
|
มาตรา
37 โสฬส – 37 เอกวีสติ ยกเลิก
|
|
หมวด
9 บทกำหนดโทษ
|
|
มาตรา
202
ผู้ใดยื่นเอกสารไม่ถูกต้อง
|
มาตรา
99 สำแดงเท็จ
|
มาตรา
203
ผู้ใดแจ้ง ให้ถ้อยคำอันเป็นเท็จ
|
มาตรา
99 สำแดงเท็จ
|
มาตรา
204 ผู้ใดปลอมแปลงเอกสาร
|
มาตรา
99 สำแดงเท็จ
|
มาตรา
205 ผู้ส่งของออกเพื่อขอคืนอากรไม่ถูกต้อง
|
มาตรา
60
|
มาตรา
206 ผู้นำของเข้าขอคืนอากรตาม ม. 28, 29 โดยความเท็จ
|
มาตรา
60
|
มาตรา
207 ผู้ใดฝ่าฝืนการขนถ่ายสินค้าอันตราย
|
มาตรา
6(6), 119
|
มาตรา
208 ผู้นำของเข้า-ส่งของออกไม่ปฏิบัติให้ครบถ้วนตาม กม. นี้ ม.51
|
มาตรา
40, 45, 119
|
มาตรา
209 ผู้ควบคุมยานพาหนะขนถ่ายโดยไม่มี จนท. คุมตาม ม.56
|
มาตรา
110
|
มาตรา
210 ผู้ใดขนถ่ายของนอกเขตท่าตาม ม.58
|
มาตรา
6(1), 27ตรี
|
มาตรา
211 ผู้นำของเข้า-ส่งของออกไม่จัดให้มีเครื่องหมายเลขหีบห่อ
|
มาตรา
118, 119
|
มาตรา
212 ผู้ควบคุมยานพาหนะมีหีบห่อที่มีลักษณะขัดต่อกฎหมาย
|
มาตรา
30
|
มาตรา
213 ผู้ใดฝ่าฝืนไม่เก็บรักษาเอกสารตาม ม.63
|
มาตรา
113 ทวิ
|
มาตรา
214 นายเรือฝ่าฝืน ม.64 รายงานเรือเข้า, 71 ใบปล่อยเรือขาออก, 85
ไม่ซักธงลา
|
มาตรา
38, 49, 50
|
มาตรา
215 นายเรือฝ่าฝืนห้ามเคลื่อนย้ายของในเรือ ม.65
|
มาตรา
38
|
มาตรา
216 นายเรือ/ผู้ควบคุมอากาศยานไม่อำนวยความสะดวก ตาม ม.67 หรือ ม.95
|
มาตรา
21 มาตรา 15, 16 ฉบับ 8 2480
|
มาตรา
217 ผู้ใดขึ้นเรือโดยไม่ได้รับอนุญาต
|
มาตรา
15 ทวิ
|
มาตรา
218 นายเรือ เรือเบาลอยตัวไม่สามารถพิสูจน์ได้
|
มาตรา
28
|
มาตรา
219 นายเรือ/ผู้ควบคุมยานพาหนะ มีที่ปิดบัง มีส่วนรู้เห็น
|
มาตรา
29
|
มาตรา
220 ผู้ใดบรรทุกของส่งออกโดยยังไม่ได้รับใบปล่อยเรือ ม.70
/ไม่มีบัญชีในเขตควบคุม ม.176
|
มาตรา
48, 49, มาตรา 15 ฉบับ 12 2497
|
มาตรา
221 นายเรือฝ่าฝืน ม.72, 74, 77, 80, 82ว2, 84ว1, 85 ประกอบ ม.77 หรือ 185
|
มาตรา
50, 53, 80, 81, 82, 85, 86
|
มาตรา
222 ผู้ส่งของออกฝ่าฝืน ม.76 ว3, ม.90 ว2/ม.98 ว2
|
มาตรา
55
|
มาตรา
223 นายเรือฝ่าฝืน ม.79
|
มาตรา
74
|
มาตรา
224 ผู้ใดฝ่าฝืน ม.81, ม.92, ม.120, ม.121
|
มาตรา
75, 5 ฉบับ 8 2480, 89, 6(4)
|
มาตรา
225 ผู้ส่งของออกฝ่าฝืน ม.82 ว1
|
มาตรา
5 ฉบับ 7 2480
|
มาตรา
226 นายเรือ/ผู้ส่งของออก ฝ่าฝืน ม.83
|
มาตรา
83
|
มาตรา
227 ผู้ใดฝ่าฝืน ม.86 จำคุก/ปรับ/ริบของ
|
มาตรา
5 ฉบับ 7 2480 ทางอนุมัติ
|
มาตรา
228 นายเรือนายฝ่าฝืนประกาศที่อธิบดีกำหนดตาม ม.87
|
มาตรา
6 ฉบับ 7 2480 ขนส่งของตามลำน้ำที่เป็นเขตแดนทางบก
|
มาตรา
229 ผู้ใดฝ่าฝืน ม.88, ม.89 ปรับและอายัดจนกว่าจะปฏิบัติให้ถูกต้อง
|
มาตรา
7, 8 ฉบับ 7 2480 ผู้ขนส่งเข้า-ออก
|
มาตรา
230 ผู้ควบคุมอากาศยานฝ่าฝืน ม.93 ว1
|
มาตรา
5 ฉบับ 8 2480 อากาศยานต้องขึ้นลงสนามบินศุลกากร
|
มาตรา
231 ผู้ควบคุมอากาศยานฝ่าฝืน ม.94 / ม.96 ปรับและอายัดของ
|
มาตรา
16, 17 ฉบับ 8 2480
|
มาตรา
232 ผู้ควบคุมอากาศยานฝ่าฝืน ม.97
|
มาตรา
17 ฉบับ 8 2480
|
มาตรา
233 ผู้ได้รับใบอนุญาต ม.112 ฝ่าฝืน ม.115/ม.129
|
เพิ่มเติมใหม่
ใบอนุญาตให้จัดตั้งและการแจ้งเลิกคลังสินค้าฯลฯ
|
มาตรา
234
ผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่ง พนง ม.119
|
มาตรา
6 (5)
|
มาตรา
235 ผู้ใดฝ่าฝืนหลักเกณฑ์ ม.122
|
มาตรา
97
|
มาตรา
236 ผู้ใดฝ่าฝืน ม.123/ม172/ม.156
|
มาตรา
6, 8 /115 เบญจ / 97 ทศ
|
มาตรา
237 ผู้ใดลักลอบเปิดคลังฯ โทษจำคุก/ปรับ
|
มาตรา
93
|
มาตรา
238 ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งเขตปลอดอากรฝ่าฝืน ม.141 ม.142 ม.143ว1 ปรับ>5หมื่น
|
-
เพิ่มเติมใหม่
|
มาตรา
239 ผู้ใดขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่/ไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง พนง. ตาม ม. 157 ปรับไม่เกิน5หมื่น
|
มาตรา20,
115 ทวิ, ตรี
|
มาตรา
240 ผู้ใดฝ่าฝืน/ไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง พนง./ขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ตาม ม.
160 ปรับไม่เกิน5หมื่น
|
มาตรา
19, 9 ฉบับ 7 2480
|
มาตรา
241 นายเรือฝ่าฝืน/ขัดขวาง ม.164
|
มาตรา
23 สั่งให้หยุดลอยลำ
|
มาตรา 242 ความผิดกับของที่ยังไม่ผ่านพิธีการโดยลักลอบหรือโดยมิได้รับอนุญาต |
มาตรา
27 ลักลอบ, 17 (ฉบับที่ 9)
|
มาตรา 243 ความผิดกับของที่ผ่านหรือกำลังผ่านพิธีการศุลกากรโดยหลีกเลี่ยงอากร |
มาตรา
27 หลีกเลี่ยง, 17 (ฉบับที่ 9)
|
มาตรา 244 ความผิดกับของที่ผ่านหรือกำลังผ่านพิธีการศุลกากรโดยหลีกเลี่ยงข้อห้ามข้อจำกัด |
มาตรา
27, 58/1 ผ่านแดน/ถ่ายลำ, 17 (ฉบับที่ 9)
|
มาตรา
245 ผู้ใดเป็นผู้ใช้/สนับสนุน หรือสมคบกันในการกระทำความผิดตาม
ม.242, 243 หรือ ม.244 ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับตัวการ
|
มาตรา
27 เกี่ยวข้องด้วยประการใด ๆ
|
มาตรา 246 ช่วยเหลือหรือรับไว้ด้วยประการใดๆ ซึ่งของอันตนพึงรู้ว่าเป็นของอันเนื่องความผิดตาม ม.242 ม.243 ม.244 |
มาตรา
27 ทวิ รับของหนีภาษี (ความผิดต้องขาดตอน)
|
มาตรา
247 ผู้ใดนำหรือยอมให้ผู้อื่นนำของต้องห้าม ของต้องกำกัด หรือของที่ยังมิได้ผ่านพิธีการศุลกากร ขึ้นบรรทุกหรือออกจากยานพาหนะ
ต้องระวางโทษ ตาม ม. ๒๔๒ หรือ ม.๒๔๔
|
มาตรา
27
|
มาตรา
248 ความผิดตาม ม. 242 เกิดขึ้นในเรือที่มีระวางบรรทุกเกิน 250 สิบตันกรอสหรืออากาศยาน
|
มาตรา
33
|
มาตรา
249 ผู้ใดฝ่าฝืน/ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ม. ๑๗๗ ว2 หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ม.๑๘๗
|
มาตรา
14 (ฉบับ 12) 2497, 66
|
มาตรา
250 นายเรือไม่ตอบคำถามหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของ พนง. ตาม ม.๑๘๘
|
มาตรา
37 ทวิ ต้องปฏิบัติตามคำสั่งอันควร
|
มาตรา
251 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ม.๑๘๙ โทษจำคุกไม่เกิน1ปี หรือปรับไม่เกิน5หมื่นบาท
หรือปรับเป็นเงิน 2 เท่าของราคาของ แล้วแต่จำนวนใดจะมากกว่า
|
มาตรา
37 ตรี ห้ามมิให้ขนถ่ายของใด ๆ
|
มาตรา 252 การกระทำความผิดตาม ม.๒๐๒
ม.๒๔๒ หรือ ม.๒๔๔ ให้ผู้กระทำต้องรับผิดแม้ได้กระทำโดยไม่มีเจตนา
|
มาตรา
16 – 17 (ฉบับที่ 9)
|
มาตรา
253 ความรับผิดของกรรมการผู้จัดการนิติบุคคล ต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น ๆ
ด้วย
|
มาตรา
115 จัตวา, แก้ไขให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญฯ (ปัจจุบัน กม. เกือบทุกฉบับที่ออกก่อนได้แก้ไขเพิ่มความรับผิดของนิติบุคคลด้วยแล้ว)
|
มาตรา
254 การประเมินราคาของเพื่อกำหนดค่าปรับ
|
มาตรา
103 การประเมินราคาของเพื่อกำหนดเบี้ยปรับ
|
มาตรา
255 อธิบดีมีอำนาจสั่งจ่ายเงินสินบนและรางวัล
|
มาตรา
102 ตรี
|
มาตรา
256 การเปรียบเทียบปรับและงดการฟ้องร้อง
|
มาตรา
102
|
มาตรา
257 ความผิดตาม ม.๒๒๗ ม.๒๔๒ ม.๒๔๓ ม.๒๔๔ และ ม.๒๔๗ ถ้าราคาของกลางรวมค่าอากรเข้าด้วยแล้วเกินกว่า
4 แสนบาท ให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบ
|
มาตรา
102 ทวิ คณะกรรมการเปรียบเทียบ
|
บทเฉพาะกาล
|
|
มาตรา
258 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยอากรศุลกากร
|
มาตรา
2 ทวิ – 2 อัฏฐ
|
มาตรา
259 ให้คลังฯ ทัณฑ์บน ที่มั่นคง และเขตปลอดอากร ทำเนียบท่าเรือ
ยังบังคับใช้อยู่ต่อไป
|
มาตรา
6, 7
|
มาตรา 260 ระยะเวลาในการนำ
ของออกไปนอกราชอาณาจักรตาม ม.๑๐๒ ว2 และ ม.๑๐๓ จะไม่นำมาใช้บังคับกับกรณีที่มีความตกลงระหว่างประเทศที่มีผลผูกพันไว้แล้ว
|
มาตรา
58 , การผ่านแดน-ถ่ายลำ
|
มาตรา
261 อำนาจพิจารณาสั่งจ่ายเงินสินบน/รางวัลในกรณีที่ตรวจพบการกระทำความผิด/ตรวจพบการเก็บอากรขาดก่อนวันที่
พ.ร.บ.ใช้บังคับ
|
มาตรา
102 ตรี
|
มาตรา
262 บรรดาพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคำสั่ง ที่ออกตาม พ.ร.บ. ศุลกากรฯ ก่อนนี้ยังใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะออกใช้บังคับใหม่
|
-
|
ดร.สงบ สิทธิเดช
Online 19-May-17
Update 27 Oct 18
Update 26 Jan 19
Update 12 May-22