วันพุธที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2565

เปรียบเทียบการแก้ไขกฎหมายศุลกากร ปี 2560 กับ 2469

ภาพแสดงเปรียบเทียบกฎหมายศุลกากร 2469 กับ 2560
ภาพแสดงกฎหมายศุลกากร 2469
ภาพแสดงกฎหมายศุลกากร 2469 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ภาพแสดงหมวด-ส่วนกฎหมายศุลกากร 2560
ตารางเปรียบเทียบการแก้ไขกฎหมายศุลกากรปี 2560 กับปี 2469
พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2560
พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2469
มาตรา 4
มาตรา 2
มาตรา 4 วรรค 1 อากร
มาตรา 2 วรรค 9
มาตรา 4 วรรค 2 ผู้นําของเข้า
มาตรา 2 วรรค 11
มาตรา 4 วรรค 3 ผู้ส่งของออก
มาตรา 2 วรรค 11
มาตรา 4 วรรค 4 ของต้องห้าม
มาตรา 27
มาตรา 4 วรรค 5 ของต้องกํากัด
มาตรา 27
มาตรา 4 วรรค 6 ด่านศุลกากร
มาตรา 3 วรรค 3 ฉบับ 7 2480
มาตรา 4 วรรค 7 ด่านพรมแดน
มาตรา 3 วรรค 2 ฉบับ 7 2480
มาตรา 4 วรรค 8 เรือ
มาตรา 2 วรรค 7
มาตรา 4 วรรค 9 นายเรือ
มาตรา 2 วรรค 8
มาตรา 4 วรรค 10 เขตแดนทางบก
มาตรา 3 วรรค 5 ฉบับ 7 2480
มาตรา 4 วรรค 11 ทางอนุมัติ
มาตรา 3 วรรค 1 ฉบับ 7 2480
มาตรา 4 วรรค 12 การผ่านแดน
มาตรา 2 วรรค 16
มาตรา 4 วรรค 13 การถ่ายลํา
มาตรา 2 วรรค 17
มาตรา 4 วรรค 14 พนักงานศุลกากร
มาตรา 2 วรรค 4, 5 , 3 วรรค 7 ฉบับ 7 2480
มาตรา 4 วรรค 15 อธิบดี
มาตรา 2 วรรค 3
มาตรา 4 วรรค 16 รัฐมนตรี
มาตรา 2 วรรค 2
มาตรา 5 (1) กําหนดท่า ที่ หรือสนามบินใด ๆ
มาตรา 4
มาตรา 5 (2) กําหนดที่ใด ๆ ให้เป็นด่านพรมแดน
มาตรา 3 วรรค 2 ฉบับ 7 2480
มาตรา 5 (3) กําหนดค่าธรรมเนียม
มาตรา 122
มาตรา 5 (4) กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ
มาตรา -
มาตรา 5 (5) กําหนดชนิดฯ สินค้าอันตราย
มาตรา 6 (6)
มาตรา 5 (6) กําหนดกิจการอื่น
มาตรา -
หมวด 1 บททั่วไป

มาตรา 6 ในกรณีที่มีพฤติการณ์พิเศษ
มาตรา 122, 6 ฉบับ 8 2480
มาตรา 7 อธิบดีอาจเรียกให้ประกัน
มาตรา 98
มาตรา 8 เอกสารให้แปลเป็นภาษาไทย
มาตรา 113
มาตรา 9 ร้องขอให้ดําเนินพิธีการศุลกากร
มาตรา 106 - 109
มาตรา 10 ขอสําเนาใบรับรอง
มาตรา 116
มาตรา 11 กระทําในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
มาตรา 109/1
มาตรา 12 ความผิดและโทษเช่นเดียวกับเอกสาร
มาตรา 109/2
หมวด 2 การจัดเก็บอากร

ส่วนที่ 1 การเสียอากร

มาตรา 13 เรียกเก็บอากรและความรับผิด
มาตรา 10 วรรค 1, 10 ทวิ, ตรี วรรค 1
มาตรา 14 การคํานวณอากรสําหรับของที่นําเข้า
มาตรา 10 ทวิ วรรค 2
มาตรา 15 การคํานวณอากรสําหรับของที่ส่งออก
มาตรา 10 ตรี วรรค 2
มาตรา 16 ราคาศุลกากร
มาตรา 2 วรรค 12
มาตรา 17 การกําหนดราคาศุลกากร
มาตรา 11
มาตรา 18 ขอทราบราคาศุลกากร ถิ่นกําเนิด
มาตรา 13/1 - 4
ส่วนที่ 2 การประเมินอากร

มาตรา 19 อํานาจประเมินอากร
มาตรา 10 วรรค 2, 3
มาตรา 20 แบบแจ้งการประเมินอากร
มาตรา 112 ทวิ
มาตรา 21 อายุความเรียกเก็บอากร 10 ปี
มาตรา 10 วรรค 2, 3
มาตรา 22 เงินเพิ่มและเบี้ยปรับ
มาตรา 112 จัตวา, แก้ไขเพิ่มเติมการจ่ายเงินเพิ่มกรณีชำระภาษีไม่ครบ ต้องชำระภาษีเพิ่มเติมพร้อมเงินเพิ่ม โดยกำหนดให้มีเพดานการจ่ายเงินเพิ่มร้อยละหนึ่งต่อเดือน ไม่เกินค่าภาษีอากรที่ต้องชำระ
มาตรา 23 กักของชดใช้ค่าอากร
มาตรา 112 เบญจ การบังคับชำระหนี้
มาตรา 24 ยึดหรืออายัดทรัพย์สินทั่วราชอาณาจักร
มาตรา 303 – 323 ป.วิ.แพ่ง, แก้ไขเพิ่มเติมการบังคับคดี โดยกำหนดให้พนักงานศุลกากรมีอำนาจหน้าที่ในการยึด อายัดทรัพย์สินของลูกหนี้ได้ เช่นเดียวกับที่กำหนดไว้ในประมวลรัษฎากร
ส่วนที่ 3 การคืนอากร

มาตรา 25 ขอคืนอากรขาเข้า
มาตรา 10 วรรค 4, 5
มาตรา 26 ขอคืนอากรขาออก
มาตรา 10 ตรี วรรค 3
มาตรา 27 คืนพร้อมดอกเบี้ย
มาตรา 112 จัตวา วรรค 4
มาตรา 28 Re-Export
มาตรา 19 ฉบับ 9 2482
มาตรา 29 การขอคืนอากรผลิตเพื่อการส่งออก
มาตรา 19 ทวิ ฉบับ 9 2482
มาตรา 30 การวางประกันผลิตฯ ส่งออก
มาตรา 19 ตรี ฉบับ 9 2482
มาตรา 31 การโอนของตามมาตรา 29 เข้าคลังฯ
มาตรา 19 จัตวา ฉบับ 9 2482
ส่วนที่ 4 การวินิจฉัยอากรและการอุทธรณ์การประเมินอากร

มาตรา 32 คณะกรรมการวินิจฉัยอากรศุลกากร
มาตรา 2 ทวิ
มาตรา 33 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา 2 ทวิ, ตรี
มาตรา 34 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่ง
มาตรา 2 จัตวา
มาตรา 35 การประชุมคณะกรรมการวินิจฉัยอากร
มาตรา 2 เบญจ
มาตรา 36 คณะกรรมการวินิจฉัยอากรฯ มีอำนาจ
มาตรา 2 สัตต
มาตรา 37 การอุทธรณ์การประเมินอากร
มาตรา 112 ฉ
มาตรา 38 การทุเลาการเสียอากร
มาตรา 112 โสฬส
มาตรา 39 คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
มาตรา 112 สัตต
มาตรา 40 การกำหนดคณะกรรมการฯ เพิ่มเติม
เพิ่มเติมใหม่ เนื่องจากมีปริมาณงานจำนวนมาก
มาตรา 41 ระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์
แก้ไขเพิ่มเติมระยะเวลาการพิจารณาอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ โดยกำหนดระยะเวลาการพิจารณาเป็น 180 วัน นับแต่วันที่พนักงานศุลกากรได้รับอุทธรณ์และเอกสารถูกต้องครบถ้วน และกำหนดให้สามารถมีคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้หลายคณะ
มาตรา 42 สิทธินำคดีไปฟ้องต่อศาล
เพิ่มเติมใหม่ สิทธิของผู้อุทธรณ์ที่จะฟ้องศาล
มาตรา 43 การประชุมของคณะกรรมการ
มาตรา 112 ทศ, เอกาทศ
มาตรา 44 การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
มาตรา 112 เตรส คณะอนุกรรมการ
มาตรา 45 อำนาจออกหนังสือหรือมาให้ถ้อยคำและการยกอุทธรณ์
มาตรา 112 เทวาทศ, แก้ไขเพิ่มเติมการยกอุทธรณ์ โดยให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีอำนาจยกอุทธรณ์ ในกรณีที่ผู้อุทธรณ์ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 204 (กรณีไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียก หรือไม่ให้ถ้อยคำ) โดยไม่มีเหตุอันควร และกรณีผู้อุทธรณ์ยื่นคำร้องขอถอนอุทธรณ์เท่านั้น
มาตรา 46 การจำหน่ายอุทธรณ์
เพิ่มเติมใหม่ การจำหน่ายอุทธรณ์
มาตรา 47 คำวินิจฉัยให้เป็นที่สุด
มาตรา 112 ปัณรส
มาตรา 48 สิทธิฟ้องเป็นคดีต่อศาล
เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 49 เป็นเจ้าพนักงานตาม ป.อาญา
มาตรา 2 ฉ, 112 จตุทศ
หมวด 3 การนำของเข้าและการส่งของออก

มาตรา 50 การนำของเข้า-ส่งของออกเป็นอันสำเร็จ
มาตรา 41, 46, 121, 3 (1) ฉบับ 8 2480, แก้ไขเพิ่มเติมความหมายของการนำเข้าสำเร็จทางไปรษณีย์ เพื่อให้มีความชัดเจนตามกฎหมายยิ่งขึ้น
มาตรา 51 หลักในการนำของเข้า-ส่งของออก
มาตรา 40, 45
มาตรา 52 การยื่นใบขนสินค้าตามแบบ
มาตรา 10, 11 ฉบับ 9 2482
มาตรา 53 ของติดตัวผู้โดยสารไม่ต้องยื่นใบขนฯ
มาตรา 17
มาตรา 54 ใบขอเปิดตรวจ (Bill of sight)
มาตรา 12 ฉบับ 9 2482
มาตรา 55 การวางประกันสำหรับของที่กำลังผ่านพิธีการศุลกากร
มาตรา 112, 112 ทวิ
มาตรา 56 การบรรทุกหรือขนถ่ายในเวลาราชการ
มาตรา 110, 111
มาตรา 57 ผู้นำของเข้า-ออกต้องเสียค่าใช้จ่ายเอง
มาตรา 117
มาตรา 58 ต้องขนถ่ายในเขตขนถ่ายของเท่านั้น
มาตรา 6(1)
มาตรา 59 ต้องมีเครื่องหมายหรือเลขหมายกำกับหีบห่อ
มาตรา 118
มาตรา 60 ความรับผิดและโทษทางไปรษณีย์
มาตรา 35
มาตรา 61 ให้นำบทบัญญัติโทษมาใช้บังคับกับของทางไปรษณีย์ด้วย
มาตรา 36
มาตรา 62 อำนาจตรวจ/กักห่อพัสดุไปรษณีย์
มาตรา 37
มาตรา 63 หน้าที่เก็บและรักษาบัญชี
มาตรา 113 ทวิ
ส่วนที่ 1 การนำของเข้าและการส่งของออกทางทะเล

มาตรา 64 รายงานเรือเข้าและบัญชีสินค้าสำ
มาตรา 38, แก้ไขเพิ่มเติมระยะเวลาในการรายงานเรือ เพื่อให้การรายงานอากาศยานเข้า-ออก สอดคล้องกับความเป็นจริง โดยกำหนดให้เป็นไปตามที่อธิบดีกำหนด
มาตรา 65 สั่งห้ามเคลื่อนย้ายของในเรือ
มาตรา 38
มาตรา 66 สั่งให้เปิดหีบห่อและยึดของต้องห้าม
มาตรา 39
มาตรา 67 เรือมาถึงเขตท่าต้องหยุดลอยลำ ณ ด่านตรวจ
มาตรา 21
มาตรา 68 เก็บของในเรือเกิน 21 วัน
มาตรา 43
มาตรา 69 กักเรือเมื่อขนของเกิน 21 วัน
มาตรา 44
มาตรา 70 ใบปล่อยเรือขาเข้า
มาตรา 48, 49
มาตรา 71 ใบปล่อยเรือขาออกและรายงานเรืออก
มาตรา 49, 50
มาตรา 72 เรือไปยังท่าที่เป็นด่านศุลกากรแห่งอื่น
มาตรา 50
มาตรา 73 คืนอาวุธปืน กระสุนปืน ดินปืน
มาตรา 22
มาตรา 74 เรือผ่านด่านตรวจต้องลดความเร็ว
มาตรา 53
มาตรา 75 เก็บค่าธรรมเนียมบรรทุกของขาออกเกิน 14 วันหรือกักเรือ
มาตรา 54
มาตรา 76 ผู้ส่งของออกต้องแจ้งเหตุที่ไม่ส่งออกภายใน ๓ วัน/ริบของทำทัณฑ์บนหรือมีประกัน
มาตรา 55, , เพิ่มเติมเพื่อกำหนดระยะเวลาส่งออกทางทะเลให้ชัดเจน
มาตรา 77 เรือจะออกจากท่าต้องชักธงลา
มาตรา 57 ธงลา (Blue Peter)
มาตรา 78 กำหนดเขตที่จอดเรือภายนอก
มาตรา 72 กำหนดที่ทอดเรือภายนอก
มาตรา 79 การขออนุญาตขนถ่ายของในเขตที่จอดเรือภายนอก
มาตรา 74
มาตรา 80 ใบอนุญาตให้นำของในเรือลำเลียงเข้าไปยังเขตท่าที่
มาตรา 80
มาตรา 81 การขนถ่ายอาวุธปืน กระสุนปืน ดินปืน หรือของต้องกำกัด
มาตรา 75
มาตรา 82 บัญชีสินค้าที่ขนถ่ายโดยเรือลำเลียง
มาตรา 82, 85
มาตรา 83 การบรรทุกของลงในเรือหรือบรรทุกลงไม่หมดที่จอดเรือภายนอก
มาตรา 83
มาตรา 84 รับใบปล่อยเรือจากศุลกากร
มาตรา 81
มาตรา 85 ใบปล่อยเรือขาออกและธงลง
มาตรา 86
ส่วนที่ 2 การนำของเข้าและการส่งของออกทางบก

มาตรา 86 ต้องขนส่งตามทางอนุมัติ และภายในกำหนดเวลาที่ประกาศ
มาตรา 5 (ฉบับ 7) 2480
มาตรา 87 การขนส่งตามลำน้ำที่เป็นเขตแดนทางบก
มาตรา 6 (ฉบับ 7) 2480
มาตรา 88 ข้อปฏิบัติสำหรับผู้ขนส่งทางบกเข้ามา
มาตรา 7 (ฉบับ 7) 2480
มาตรา 89 ข้อปฏิบัติสำหรับผู้ขนส่งทางบกออกไป
มาตรา 8 (ฉบับ 7) 2480
มาตรา 90 มิได้ส่งออกภายใน 7 วันต้องแจ้งเหตุภายใน 10 วัน
มาตรา 55, เพิ่มเติมเพื่อกำหนดระยะเวลาส่งออกทางบกให้ชัดเจน
มาตรา 91 การขนส่งของผ่านเขตแดนทางบกโดยวิธีการอื่น
มาตรา 9 (ฉบับ 7) 2480
ส่วนที่ 3 การนำของเข้าและการส่งของออกทางอากาศ

มาตรา 92 อากาศยานต้องลงในหรือขึ้นจากสนามบินที่เป็นด่านศุลกากร
มาตรา 5 (ฉบับ 8) 2480
มาตรา 93 กรณีที่อากาศยานต้องลงในหรือขึ้นจากที่ใดนอกจากสนามบินที่เป็นด่านศุลกากร
มาตรา 6 (ฉบับ 8) 2480
มาตรา 94 การทำรายงานอากาศยานเข้า
มาตรา 15 ฉบับ 8 2480, แก้ไขเพิ่มเติมระยะเวลาในการรายงานเรือ เพื่อให้การรายงานอากาศยานเข้า-ออก สอดคล้องกับความเป็นจริง โดยกำหนดให้เป็นไปตามที่อธิบดีกำหนด
มาตรา 95 หน้าที่ของผู้ควบคุมอากาศยานเข้ามา
มาตรา 15, 16 (ฉบับ 8) 2480
มาตรา 96 ใบปล่อยอากาศยานขาออก
มาตรา 16 (ฉบับ 8) 2480
มาตรา 97 สนามบินที่เป็นด่านศุลกากรแห่งอื่นในราชอาณาจักร
มาตรา 17 (ฉบับ 8) 2480
มาตรา 98 ต้องแจ้งเหตุที่ไม่สามารถนำของนั้นบรรทุกลงภายใน 3 วัน
มาตรา 55, เพิ่มเติมเพื่อกำหนดระยะเวลาส่งออกทางอากาศยานให้ชัดเจน
ส่วนที่ 4 ตัวแทน

มาตรา 99 ตัวแทน
มาตรา 106
มาตรา 100 ผู้รับมอบอำนาจ
มาตรา 107
มาตรา 101 การสั่งพักใช้หรือเพิกถอนการอนุญาต
มาตรา 107, 109
หมวด 4 การผ่านแดน การถ่ายลำ และของตกค้าง

ส่วนที่ 1 การผ่านแดนและการถ่ายลำ

มาตรา 102 การผ่านแดน-ถ่ายลำภายใน 30 วัน
มาตรา 58
มาตรา 103 ไม่นำออกภายใน 30 วันตกเป็นของแผ่นดิน
มาตรา 58, กำหนดเวลาและวิธีการจัดการให้ชัดเจน
มาตรา 104 อำนาจตรวจหรือค้นในของ 4 ลักษณะ
มาตรา 58/1
มาตรา 105 ริบของตามมาตรา 104
มาตรา 58/1
มาตรา 106 ให้นำข้อห้ามหรือข้อจำกัดมาบังคับใช้
เพิ่มเติมบทบัญญัติการผ่านแดนและการถ่ายลำ โดยกำหนดให้นำข้อห้ามข้อจำกัดไปใช้กับของที่นำเข้ามาเพื่อการผ่านแดนหรือการถ่ายลำได้เท่าที่จำเป็นฯ
ส่วนที่ 2 ของตกค้าง

มาตรา 107 ของตกค้างเกิน 30 วัน
มาตรา 61, แก้ไขเพิ่มเติมของตกค้างโดยกำหนดระยะเวลาของของตกค้างให้เร็วขึ้นจาก 2 เดือน เหลือ 30 วัน เพื่อเร่งรัดการจัดเก็บภาษีและเพื่อให้การใช้พื้นที่บริเวณเขตท่าเป็นไปอย่างเหมาะสม
มาตรา 108 การดำเนินการกับของตกค้าง
มาตรา 61
มาตรา 109 ของสด ของเสียได้บูดเน่าหรือเสียแล้ว
มาตรา 62
มาตรา 110 การจัดการเงินที่ได้จากขายทอดตลาด
มาตรา 63
หมวด 5 คลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพักสินค้า ที่มั่นคง และท่าเรือรับอนุญาต

ส่วนที่ 1 การจัดตั้ง

มาตรา 111 การจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพักสินค้า หรือที่มั่นคง ท่าเรือรับอนุญาต
มาตรา 6, 8, 8 ทวิ
มาตรา 112 ใบอนุญาตให้จัดตั้งตาม ม.111
เพิ่มเติมใหม่ ใบอนุญาตให้จัดตั้งคลังสินค้าฯลฯ
มาตรา 113 ต้องเสียค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมรายปี
มาตรา 6, 7, 8, 8 ทวิ, 97 ตรี อัตราค่าธรรมเนียมตามใบแนบ ศ.6
มาตรา 114 การขอรับใบแทนใบอนุญาต
เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 115 ต้องแสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผย
เพิ่มเติมใหม่
ส่วนที่ 2 การดำเนินการ

มาตรา 116 คลังสินค้าทัณฑ์บนดำเนินการได้ใน 3 ลักษณะ
มาตรา 8, 8 ทวิ
มาตรา 117 การเรียกประกันจากผู้ได้รับให้จัดตั้ง
มาตรา 8 วรรค 2, 8 ทวิ,
มาตรา 118 การตรวจของที่เก็บไว้ในคลังสินค้า
มาตรา 6 (2)
มาตรา 119 การสั่งให้เอาของที่ยังไม่ได้ตรวจเข้าเก็บ
มาตรา 6 (5)
มาตรา 120 ต้องเก็บของไว้ในหีบห่อเดิมที่นำเข้า - ริบหากไม่ได้รับอนุญาต
มาตรา 89
มาตรา 121 ห้ามเคลื่อนย้ายของที่ยังมิได้ตรวจ - ริบหากไม่ได้รับอนุญาต
มาตรา 6 (4)
มาตรา 122 การย้ายของไปเก็บคลังสินค้าอื่น
มาตรา 97
มาตรา 123 หลักเกณฑ์ วิธีการ เก็บของ
มาตรา 6, 8
มาตรา 124 หลักการประเมินของในคลังสินค้าทัณฑ์บน
มาตรา 87, 88
มาตรา 125 ของตามปริมาณที่แตกต่างกันนั้นให้ถือว่าเป็นของที่ยังมิได้ผ่านพิธีการศุลกากร
มาตรา 96
มาตรา 126 การยกเว้นอากรขาเข้า-ออกแก่ของที่ปล่อยออกไปจากคลังสินค้าทัณฑ์บนเพื่อส่งออก
มาตรา 88
มาตรา 127 สิทธิประโยชน์เมื่อนำของเข้าไปในคลังสินค้าทัณฑ์บน
มาตรา 88
มาตรา 128 การยกเว้นหรือคืนอากรสำหรับของที่สูญหายหรือถูกทำลายโดยเหตุสุดวิสัย
มาตรา 95, เพิ่มเติมแยกให้ชัดของใน 4 ลักษณะที่จะได้สิทธิยกเว้นหรือคืนอากร
มาตรา 129 การแจ้งเลิกการดำเนินการ
เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 130 การดำเนินการกับของหลังเลิกดำเนินการ
เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 131 การคำนวณอากรหลังเพิกถอนใบอนุญาต
เพิ่มเติมใหม่
ส่วนที่ 3 การพักใช้และเพิกถอนใบอนุญาต

มาตรา 132 การสั่งพักใช้ใบอนุญาต
เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 133 การสั่งยกเลิกคำสั่งพักใช้ใบอนุญาต
เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 134 การสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 135 วิธีการแจ้งคำสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
เพิ่มเติมใหม่
หมวด 6 เขตปลอดอากร

ส่วนที่ 1 การจัดตั้งเขตปลอดอากร

มาตรา 136 การจัดตั้งเขตปลอดอากร
มาตรา 97 ตรี
มาตรา 137 ยกเว้นหรือคืนอากรแก่ของที่นำเข้า
มาตรา 97 เบญจ
มาตรา 138 คุณสมบัติของผู้ขอจัดตั้ง
มาตรา 97 ตรี, ปก.45/2545, คป.19/2545
มาตรา 139 ต้องเสียค่าธรรมเนียมรายปี
มาตรา 97 ตรี
มาตรา 140 การขอรับใบแทนใบอนุญาต
เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 141 ต้องแสดงใบอนุญาตหรือใบแทน
เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 142 การแจ้งเลิกการดำเนินการ
เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 143 การดำเนินการกับของหลังจากแจ้งการเลิกการดำเนินการ
เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 144 ภาระอากรเกิดขึ้นนับแต่นับแต่วันที่อธิบดีมีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 145 ให้นำบทบัญญัติคลังสินค้าทัณฑ์บนฯ มาใช้บังคับกับการพักใช้และการเพิกถอนใบอนุญาต
เพิ่มเติมใหม่
ส่วนที่ 2 การขออนุญาตประกอบกิจการในเขตปลอดอากร

มาตรา 146 การขออนุญาตประกอบกิจการ
มาตรา 97 ตรี, เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 147 คุณสมบัติผู้ยื่นคำขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการ
มาตรา 97 ตรี, ปก.45/2545, คป.19/2545
มาตรา 148 ให้นำบทบัญญัติใบอนุญาตจัดตั้งรวมทั้งเกี่ยวกับโทษมาบังคับใช้
เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 149 ต้องประกอบกิจการที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
มาตรา 97 นว
มาตรา 150 การกำหนดประเภทหรือชนิดแห่งของที่จะนำเข้าไปในหรือปล่อยออก
มาตรา 97 จัตวา
ส่วนที่ 3 สิทธิประโยชน์ในเขตปลอดอากร

มาตรา 151 ของที่นำเข้ามาในประเทศเพื่อนำเข้าไปในเขตปลอดอากรได้รับยกเว้นอากรขาเข้า
มาตรา 97 เบญจ
มาตรา 152 ของจะได้รับยกเว้นกฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับการควบคุมมาตรฐานหรือคุณภาพ การประทับตราหรือเครื่องหมายใด ๆ 
มาตรา 97 สัตต
มาตรา 153 ของจะได้รับยกเว้นหรือคืนอากรโดยให้ถือว่าของนั้นได้ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร
มาตรา 97 อัฏฐ
มาตรา 154 ภาระอากรเกิดขึ้นในเวลาที่ปล่อยของนั้นออกไปจากเขตปลอดอากร
มาตรา 97 นว, 10 ทวิ วรรค 3
มาตรา 155 การนำของออกจากเขตปลอดอากรเพื่อใช้หรือจำหน่ายภายในประเทศ
มาตรา 97 นว
มาตรา 156 การควบคุมของในเขตปลอดอากร
มาตรา 97 ทศ
หมวด 7 พนักงานศุลกากร

มาตรา 157 อำนาจเข้าไป/จับกุม/ยึด-อายัด/เรียก ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัย
มาตรา 20, 115 ทวิ, ตรี
มาตรา 158 อำนาจตรวจและเอาซักตัวอย่างของที่กำลังผ่านพิธีการศุลกากรหรืออยู่ในกำกับ
มาตรา 14
มาตรา 159 อำนาจเข้าไปในสถานประกอบการเพื่อตรวจสอบไม่เกิน ๕ ปี
มาตรา 14/1
มาตรา 160 อำนาจสั่งให้หยุดรถเพื่อตรวจหรือค้น หรือบุคคลที่อยู่ในรถนั้นเมื่อมีเหตุอันควรสงสัย
มาตรา 19, 9 ฉบับ 7 2480
มาตรา 161 อำนาจตรวจหรือค้นหีบห่อผู้โดยสาร และยึดหีบห่อของนั้นไว้
มาตรา 17
มาตรา 162 อำนาจเข้าไปตรวจของ ณ สถานประกอบการ ฯลฯ ตามที่ผู้เกี่ยวข้องร้องขอ
เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 163 ตั้งด่านตรวจเรือ วางพนักงานประจำเรือ และหยุดลอยลำที่ด่านตรวจ
มาตรา 5, 22
มาตรา 164 อำนาจสั่งให้เรือหยุดลอยลำหรือนำเรือไปยังที่ใดที่หนึ่ง
มาตรา 23
มาตรา 165 ริบเรือไม่เกิน 250 ตันกรอส หากใช้ในการย้ายถอนซ้อนเร้น ถ้าเกินศาลสั่งริบได้
มาตรา 32
มาตรา 166 ริบของ 4 อย่างคือ-ที่ยังมิได้เสียอากร/ต้องห้าม/ต้องกำกัด/ที่ยังมิได้ผ่านพิธีการศุลกากร
มาตรา 27, 17 (ฉบับ 9) 2482
มาตรา 167 อำนาจยึด/อายัดสิ่งใด ๆ อันจะพึงต้องริบหรือเป็นที่สงสัยว่าจะพึงต้องริบตาม พ.ร.บ.นี้
มาตรา 24, 115 ทวิ อายัดเอกสาร และอายัดตาม ป.อาญา มาตรา 141, 187
มาตรา 168 ศาลสั่งริบของที่มิได้เป็นของผู้กระทำความผิด หากรู้เห็นหรือมิได้ระมัดระวังมิให้เกิด
มาตรา 32 ทวิ
มาตรา 169 บันทึกข้อเท็จจริงที่ได้พบเห็นให้สันนิษฐานว่าบันทึกนั้นเป้นความจริง
มาตรา 10 (ฉบับ 12) 2497
มาตรา 170 ของหรือสิ่งที่ยึดไว้ตาม พรบ. นี้หรือ กม. อื่นที่เกี่ยวข้องต้องส่งมอบให้ พนง. ศุลกากร
มาตรา 25 วรรค 1
มาตรา 171 ของสดเสียง่ายที่ยึดจะสั่งให้ขายทอดตลาดฯ ก่อนที่จะตกเป็นของแผ่นดินก็ได้
มาตรา 25 วรรค 2
มาตรา 172 ให้อำนวยความสะดวกตามสมควร ในการปฏิบัติหน้าที่ของ พนง. ศุลกากร
มาตรา 115 เบญจ
มาตรา 173 ต้องแสดงบัตรประจำตัว ในการปฏิบัติหน้าที่ของ พนง. ศุลกากร
มาตรา 115 ฉ
มาตรา 174 พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ ในความผิดที่เกิดขึ้นในทะเลอาณาเขต
มาตรา 20 ทวิ
หมวด 8 อำนาจทางศุลกากรในพื้นที่เฉพาะ

ส่วนที่ 1 เขตควบคุมศุลกากร

มาตรา 175 กำหนดเขตควบคุมศุลกากร มีอำนาจตรวจตรา/ตรวจค้น/จับกุม-โดยไม่ต้องมีหมาย
มาตรา 12 (ฉบับ 12) 2497
มาตรา 176 ต้องจัดให้มีบัญชีเพื่อแสดงรายละเอียดแห่งของนั้นภายในเขตควบคุมศุลกากร
มาตรา 13 (ฉบับ 12) 2497
มาตรา 177 กำหนดบริเวณพิเศษเพื่อควบคุมการขนย้ายของภายในเขตควบคุมศุลกากร
มาตรา 14 (ฉบับ 12) 2497
ส่วนที่ 2 พื้นที่ควบคุมร่วมกัน

มาตรา 178 พื้นที่ควบคุมร่วมกัน
มาตรา 37 โสฬส
มาตรา 179 ศุลกากรมีอำนาจเหมือนเขตศุลกากร
มาตรา 37 สัตตรส
มาตรา 180 ถือว่าเป็นการปฏิบัติหน้าที่ในราชอาณาจักร
มาตรา 37 อัฏฐารส
มาตรา 181 การดำเนินการในกรณีที่มีการกระทำความผิดตาม พ.ร.บ.นี้
มาตรา 37 เอกูนวีสติ
มาตรา 182 การร้องขอให้ดำเนินการตาม พ.ร.บ. นี้
มาตรา 37 วีสติ
มาตรา 183 อธิบดีมีอำนาจออกระเบียบ
มาตรา 37 เอกวีสติ
ส่วนที่ 3 การค้าชายฝั่ง

มาตรา 184 การขนส่งทางทะเลจากท่าหนึ่งไปท่าหนึ่งในราชอาณาจักร
มาตรา 64
มาตรา 185 บัญชีสินค้าให้ถือว่าเป็นใบปล่อยสินค้าและปล่อยเรือ
มาตรา 67, 68
มาตรา 186 นายเรือเก็บรักษาบัญชีสินค้า
มาตรา 71
มาตรา 187 ห้ามมิให้ขนถ่ายของจากเรือในระหว่างเดินทาง
มาตรา 66
ส่วนที่ 4 เขตต่อเนื่อง

มาตรา 188 ต้องปฏิบัติตามคำสั่งอันควร
มาตรา 37 ทวิ
มาตรา 189 ห้ามมิให้ขนถ่ายของใด ๆ
มาตรา 37 ตรี
มาตรา 190 ให้นำบทบัญญัติภายในและโทษมาใช้
มาตรา 37 จัตวา
มาตรา 191 อำนาจตรวจ ค้น จับกุมหรือดำเนินคดี
มาตรา 37 เบญจ
ส่วนที่ 5 พื้นพัฒนาร่วมกัน

มาตรา 192 พื้นที่พัฒนาร่วมตาม กม. ไทย-มาเลฯ
มาตรา 37 ฉ
มาตรา 193 การจัดระเบียบการเคลื่อนย้าย
มาตรา 37 สัตต
มาตรา 194 การใช้อำนาจในพื้นที่พัฒนาร่วม
มาตรา 37 อัฏฐ
มาตรา 195 หลักเกณฑ์การเคลื่อนย้ายของใด ๆ
มาตรา 37 นว
มาตรา 196 ของต้องห้ามไม่อนุญาตให้นำเข้า
มาตรา 37 ทศ
มาตรา 197 ให้ใช้แบบศุลกากรตามที่กำหนด
มาตรา 37 เอกาทศ
มาตรา 198 ที่ทำการศุลกากรร่วม
มาตรา 37 ทวาทศ
มาตรา 199 การกระทำผิดในพื้นที่พัฒนาร่วม
มาตรา 37 เตรส
มาตรา 200 ราชอาณาจักรหมายถึงพื้นที่พัฒนาฯ
มาตรา 37 จตุทศ
มาตรา 201 เขตอำนาจศาลในพื้นที่พัฒนาร่วม
มาตรา 37 ปัญจทศ

มาตรา 37 โสฬส – 37 เอกวีสติ ยกเลิก
หมวด 9 บทกำหนดโทษ

มาตรา 202 ผู้ใดยื่นเอกสารไม่ถูกต้อง
มาตรา 99 สำแดงเท็จ
มาตรา 203 ผู้ใดแจ้ง ให้ถ้อยคำอันเป็นเท็จ
มาตรา 99 สำแดงเท็จ
มาตรา 204 ผู้ใดปลอมแปลงเอกสาร
มาตรา 99 สำแดงเท็จ
มาตรา 205 ผู้ส่งของออกเพื่อขอคืนอากรไม่ถูกต้อง
มาตรา 60
มาตรา 206 ผู้นำของเข้าขอคืนอากรตาม ม. 28, 29 โดยความเท็จ
มาตรา 60
มาตรา 207 ผู้ใดฝ่าฝืนการขนถ่ายสินค้าอันตราย
มาตรา 6(6), 119
มาตรา 208 ผู้นำของเข้า-ส่งของออกไม่ปฏิบัติให้ครบถ้วนตาม กม. นี้ ม.51
มาตรา 40, 45, 119  
มาตรา 209 ผู้ควบคุมยานพาหนะขนถ่ายโดยไม่มี จนท. คุมตาม ม.56
มาตรา 110
มาตรา 210 ผู้ใดขนถ่ายของนอกเขตท่าตาม ม.58
มาตรา 6(1), 27ตรี
มาตรา 211 ผู้นำของเข้า-ส่งของออกไม่จัดให้มีเครื่องหมายเลขหีบห่อ
มาตรา 118, 119
มาตรา 212 ผู้ควบคุมยานพาหนะมีหีบห่อที่มีลักษณะขัดต่อกฎหมาย
มาตรา 30
มาตรา 213 ผู้ใดฝ่าฝืนไม่เก็บรักษาเอกสารตาม ม.63
มาตรา 113 ทวิ
มาตรา 214 นายเรือฝ่าฝืน ม.64 รายงานเรือเข้า, 71 ใบปล่อยเรือขาออก, 85 ไม่ซักธงลา
มาตรา 38, 49, 50
มาตรา 215 นายเรือฝ่าฝืนห้ามเคลื่อนย้ายของในเรือ ม.65
มาตรา 38
มาตรา 216 นายเรือ/ผู้ควบคุมอากาศยานไม่อำนวยความสะดวก ตาม ม.67 หรือ ม.95
มาตรา 21 มาตรา 15, 16 ฉบับ 8 2480
มาตรา 217 ผู้ใดขึ้นเรือโดยไม่ได้รับอนุญาต
มาตรา 15 ทวิ
มาตรา 218 นายเรือ เรือเบาลอยตัวไม่สามารถพิสูจน์ได้
มาตรา 28
มาตรา 219 นายเรือ/ผู้ควบคุมยานพาหนะ มีที่ปิดบัง มีส่วนรู้เห็น
มาตรา 29
มาตรา 220 ผู้ใดบรรทุกของส่งออกโดยยังไม่ได้รับใบปล่อยเรือ ม.70 /ไม่มีบัญชีในเขตควบคุม ม.176
มาตรา 48, 49, มาตรา 15 ฉบับ 12 2497
มาตรา 221 นายเรือฝ่าฝืน ม.72, 74, 77, 80, 82ว2, 84ว1, 85 ประกอบ ม.77 หรือ 185
มาตรา 50, 53, 80, 81, 82, 85, 86
มาตรา 222 ผู้ส่งของออกฝ่าฝืน ม.76 ว3, ม.90 ว2/ม.98 ว2
มาตรา 55
มาตรา 223 นายเรือฝ่าฝืน ม.79
มาตรา 74
มาตรา 224 ผู้ใดฝ่าฝืน ม.81, ม.92, ม.120, ม.121
มาตรา 75, 5 ฉบับ 8 2480, 89, 6(4)
มาตรา 225 ผู้ส่งของออกฝ่าฝืน ม.82 ว1
มาตรา 5 ฉบับ 7 2480
มาตรา 226 นายเรือ/ผู้ส่งของออก ฝ่าฝืน ม.83
มาตรา 83
มาตรา 227 ผู้ใดฝ่าฝืน ม.86 จำคุก/ปรับ/ริบของ
มาตรา 5 ฉบับ 7 2480 ทางอนุมัติ
มาตรา 228 นายเรือนายฝ่าฝืนประกาศที่อธิบดีกำหนดตาม ม.87
มาตรา 6 ฉบับ 7 2480 ขนส่งของตามลำน้ำที่เป็นเขตแดนทางบก
มาตรา 229 ผู้ใดฝ่าฝืน ม.88, ม.89 ปรับและอายัดจนกว่าจะปฏิบัติให้ถูกต้อง
มาตรา 7, 8 ฉบับ 7 2480 ผู้ขนส่งเข้า-ออก
มาตรา 230 ผู้ควบคุมอากาศยานฝ่าฝืน ม.93 ว1
มาตรา 5 ฉบับ 8 2480 อากาศยานต้องขึ้นลงสนามบินศุลกากร
มาตรา 231 ผู้ควบคุมอากาศยานฝ่าฝืน ม.94 / ม.96 ปรับและอายัดของ
มาตรา 16, 17 ฉบับ 8 2480
มาตรา 232 ผู้ควบคุมอากาศยานฝ่าฝืน ม.97
มาตรา 17 ฉบับ 8 2480
มาตรา 233 ผู้ได้รับใบอนุญาต ม.112 ฝ่าฝืน ม.115/ม.129
เพิ่มเติมใหม่ ใบอนุญาตให้จัดตั้งและการแจ้งเลิกคลังสินค้าฯลฯ
มาตรา 234 ผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่ง พนง ม.119
มาตรา 6 (5)
มาตรา 235 ผู้ใดฝ่าฝืนหลักเกณฑ์ ม.122
มาตรา 97
มาตรา 236 ผู้ใดฝ่าฝืน ม.123/ม172/ม.156
มาตรา 6, 8 /115 เบญจ / 97 ทศ
มาตรา 237 ผู้ใดลักลอบเปิดคลังฯ โทษจำคุก/ปรับ
มาตรา 93
มาตรา 238 ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งเขตปลอดอากรฝ่าฝืน ม.141 ม.142 ม.143ว1 ปรับ>5หมื่น
- เพิ่มเติมใหม่
มาตรา 239 ผู้ใดขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่/ไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง พนง. ตาม ม. 157 ปรับไม่เกิน5หมื่น
มาตรา20, 115 ทวิ, ตรี  
มาตรา 240 ผู้ใดฝ่าฝืน/ไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง พนง./ขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ตาม ม. 160 ปรับไม่เกิน5หมื่น
มาตรา 19, 9 ฉบับ 7 2480
มาตรา 241 นายเรือฝ่าฝืน/ขัดขวาง ม.164
มาตรา 23 สั่งให้หยุดลอยลำ
มาตรา 242 ความผิดกับของที่ยังไม่ผ่านพิธีการโดยลักลอบหรือโดยมิได้รับอนุญาต
มาตรา 27 ลักลอบ, 17 (ฉบับที่ 9)
มาตรา 243 ความผิดกับของที่ผ่านหรือกำลังผ่านพิธีการศุลกากรโดยหลีกเลี่ยงอากร
มาตรา 27 หลีกเลี่ยง, 17 (ฉบับที่ 9)
มาตรา 244 ความผิดกับของที่ผ่านหรือกำลังผ่านพิธีการศุลกากรโดยหลีกเลี่ยงข้อห้ามข้อจำกัด
มาตรา 27, 58/1 ผ่านแดน/ถ่ายลำ, 17 (ฉบับที่ 9)
มาตรา 245 ผู้ใดเป็นผู้ใช้/สนับสนุน หรือสมคบกันในการกระทำความผิดตาม ม.242, 243 หรือ ม.244 ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับตัวการ
มาตรา 27 เกี่ยวข้องด้วยประการใด ๆ
มาตรา 246 ช่วยเหลือหรือรับไว้ด้วยประการใดๆ ซึ่งของอันตนพึงรู้ว่าเป็นของอันเนื่องความผิดตาม ม.242 ม.243 ม.244
มาตรา 27 ทวิ รับของหนีภาษี (ความผิดต้องขาดตอน)
มาตรา 247 ผู้ใดนำหรือยอมให้ผู้อื่นนำของต้องห้าม ของต้องกำกัด หรือของที่ยังมิได้ผ่านพิธีการศุลกากร ขึ้นบรรทุกหรือออกจากยานพาหนะ ต้องระวางโทษ ตาม ม. ๒๔๒ หรือ ม.๒๔๔  
มาตรา 27
มาตรา 248 ความผิดตาม ม. 242 เกิดขึ้นในเรือที่มีระวางบรรทุกเกิน 250 สิบตันกรอสหรืออากาศยาน
มาตรา 33
มาตรา 249 ผู้ใดฝ่าฝืน/ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ม. ๑๗๗ ว2 หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ม.๑๘๗
มาตรา 14 (ฉบับ 12) 2497, 66
มาตรา 250 นายเรือไม่ตอบคำถามหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของ พนง. ตาม ม.๑๘๘
มาตรา 37 ทวิ ต้องปฏิบัติตามคำสั่งอันควร
มาตรา 251 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ม.๑๘๙ โทษจำคุกไม่เกิน1ปี หรือปรับไม่เกิน5หมื่นบาท หรือปรับเป็นเงิน 2 เท่าของราคาของ แล้วแต่จำนวนใดจะมากกว่า
มาตรา 37 ตรี ห้ามมิให้ขนถ่ายของใด ๆ
มาตรา 252 การกระทำความผิดตาม ม.๒๐๒ ม.๒๔๒ หรือ ม.๒๔๔ ให้ผู้กระทำต้องรับผิดแม้ได้กระทำโดยไม่มีเจตนา
มาตรา 16 – 17 (ฉบับที่ 9)
มาตรา 253 ความรับผิดของกรรมการผู้จัดการนิติบุคคล ต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย
มาตรา 115 จัตวา, แก้ไขให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญฯ (ปัจจุบัน กม. เกือบทุกฉบับที่ออกก่อนได้แก้ไขเพิ่มความรับผิดของนิติบุคคลด้วยแล้ว)
มาตรา 254 การประเมินราคาของเพื่อกำหนดค่าปรับ
มาตรา 103 การประเมินราคาของเพื่อกำหนดเบี้ยปรับ
มาตรา 255 อธิบดีมีอำนาจสั่งจ่ายเงินสินบนและรางวัล
มาตรา 102 ตรี
มาตรา 256 การเปรียบเทียบปรับและงดการฟ้องร้อง
มาตรา 102
มาตรา 257 ความผิดตาม ม.๒๒๗ ม.๒๔๒ ม.๒๔๓ ม.๒๔๔ และ ม.๒๔๗ ถ้าราคาของกลางรวมค่าอากรเข้าด้วยแล้วเกินกว่า 4 แสนบาท ให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบ
มาตรา 102 ทวิ คณะกรรมการเปรียบเทียบ
บทเฉพาะกาล

มาตรา 258 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยอากรศุลกากร
มาตรา 2 ทวิ – 2 อัฏฐ
มาตรา 259 ให้คลังฯ ทัณฑ์บน ที่มั่นคง และเขตปลอดอากร ทำเนียบท่าเรือ ยังบังคับใช้อยู่ต่อไป
มาตรา 6, 7
มาตรา 260 ระยะเวลาในการนำ ของออกไปนอกราชอาณาจักรตาม ม.๑๐๒ ว2 และ ม.๑๐๓ จะไม่นำมาใช้บังคับกับกรณีที่มีความตกลงระหว่างประเทศที่มีผลผูกพันไว้แล้ว
มาตรา 58 , การผ่านแดน-ถ่ายลำ
มาตรา 261 อำนาจพิจารณาสั่งจ่ายเงินสินบน/รางวัลในกรณีที่ตรวจพบการกระทำความผิด/ตรวจพบการเก็บอากรขาดก่อนวันที่ พ.ร.บ.ใช้บังคับ
มาตรา 102 ตรี
มาตรา 262 บรรดาพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคำสั่ง ที่ออกตาม พ.ร.บ. ศุลกากรฯ ก่อนนี้ยังใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะออกใช้บังคับใหม่
-


ดร.สงบ สิทธิเดช
Online 19-May-17
Update 27 Oct 18
Update 26 Jan 19
Update 12 May-22