วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

หลักและพิธีการศุลกากร 2560

หลักและพิธีการศุลกากร 2560 (Principles and customs clearance 2017) 
บรรยายเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2563

ส่วนที่ 1 หลักและพิธีการศุลกากร (Principles and customs clearance 2017)
1. ภาพรวมกฎหมายศุลกากรที่เกี่ยวข้องกับพิธีการศุลกากร 2560
  1.1 พัฒนาการพิธีการศุลกากรจากอดีตปัจจุบัน 800 ปี
- ที่มากฎหมายศุลกากรปี 2560
- ภาพรวมกฎหมายศุลกากรปี 2560 กับประมวลฯ 2560
  1.2 ผู้ประกอบการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบพิธีการศุลกากร
- Distribution Channel: Logistics Managements to Flow through the channel
- Cost Trade-offs Required in Marketing and Logistics
- ตัวอย่างอัตราค่าภาระต่าง ๆ ของท่าเรือกรุงเทพ
2 หลักในการเก็บและเสียอากรศุลกากร 2560
2.1 วิธีการจัดเก็บและเสียอากร (หลักเกณฑ์การเรียกเก็บอากร)
- ข้อควรทราบในการสำแดงราคาศุลกากร
2.2 ความรับผิดในอันจะต้องเสียอากร
2.3 หน้าที่เสียอากรของผู้นำของเข้าหรือส่งของออก
2.4 กรณีศึกษาตามแนวฎีกาและคำวินิจฉัยของกฤษฎีกา

ส่วนที่ 2 การปฏิบัติพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการนำเข้า (e-Import) และส่งออก (e-export)
1. กระบวนการทางศุลกากรโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
  1.1 การลงทะเบียน
  1.2 หลักการปฏิบัติพิธีการใบขนสินค้าทางอิเล็กทรอนิกส์
  1.3 การกำหนดเลขที่ใบขนสินค้าทางอิเล็กทรอนิกส์จำนวน 14 หลัก
  1.4 กระบวนการทางศุลกากรโดยระบบการให้บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว
  1.5 การรับรองข้อมูลและการจัดเก็บหลักฐานข้อมูลในการปฏิบัติพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์
2. วิธีการเสียค่าภาษี
  2.1 การชำระค่าภาษีอากร ค่าธรรมเนียมศุลกากร รายได้อื่น
  2.2 การชำระเงินในระบบ e-Payment
ส่วนที่ 3 การตรวจสอบเอกสาร (Shipping Documents) ที่ใช้ปฏิบัติพิธีการนำเข้า – ส่งออก
1. การจัดทำและยื่นใบขนสินค้าในรูปแบบเอกสาร
Trading across Borders in Thailand – Trade Documents
2. บัญชีราคาสินค้า
3. การตรวจสอบข้อมูลบัญชีสินค้าขาเข้ากับข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้า
4. การจัดเก็บและรักษาบัญชี เอกสาร หลักฐาน และข้อมูลอิ่นใดที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้าหรือส่งออก
ส่วนที่ 4 ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการศุลกากรสำหรับการนำเข้า – ส่งออกสินค้าทางเรือ
1. กระบวนการนำของเข้าทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Import)
  1.1 การส่งข้อมูลใบขนฯ ขาเข้าพร้อมชำระค่าภาษีอากร (ถ้ามี) ผ่านธนาคาร
  1.2 การตัดบัญชีตรวจปล่อยอัตโนมัติ
  1.3 การยกเว้นการตรวจ
2. กระบวนการส่งของออกทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Export)
  2.1 การส่งข้อมูลใบขนฯ ขาออกพร้อมชำระค่าภาษีอากร (ถ้ามี) ผ่านธนาคาร
  2.2 การส่งข้อมูลใบกำกับการขนย้ายสินค้า
  2.3 การตรวจปล่อยสินค้าทางเรือ
ส่วนที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการศุลกากรสำหรับการนำเข้า – ส่งออกสินค้าทางบก
1. กระบวนการนำเข้าทางบกด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Import)
  1.1ขั้นตอนการส่งข้อมูล Car Manifest (ศบ.1) ผ่าน VAN (ebXML Format)
  1.2 ส่งข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้าทางบกพร้อมชำระค่าภาษีอากร (ถ้ามี) ผ่านธนาคาร
  1.3 การตัดบัญชีตรวจปล่อยกับข้อมูล ศบ.1
2. กระบวนการส่งของออกทางบกด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Export)
  2.1 การตรวจปล่อยสินค้าทางรถยนต์
ส่วนที่ 6 ข้อควรระวังและแนวทางในการแก้ไขข้อผิดพลาดการปฏิบัติพิธีการศุลกากรนำเข้า – ส่งออก
1. ของต้องห้าม ต้องกำกัด
  1.1 ฐานข้อมูลควบคุมสินค้าของต้องห้าม ต้องกำกัด ส่วนมาตรฐานวิเคราะห์สินค้า กศก.
  1.2 ฐานข้อมูลใบอนุญาต/ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ กศก.
  1.3 การปฏิบัติพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการเชื่อมโยงข้อมูล
ตาม กม. อื่นที่เกี่ยวข้องกับการศุลกากร
2. สินค้าที่ใช้ได้สองทาง และอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง
  2.1 รหัสที่ใช้ในการควบคุมสินค้าสองทาง ECCN
  2.2 ตัวอย่างสินค้าที่ใช้ได้สองทาง
  2.3 กลุ่มผลิตภัณฑ์ที่เข้าข่ายเป็นสินค้าที่ใช้ได้สองทาง
  2.4 รหัสพิกัด-สถิติ ส่งออกที่เกี่ยวข้องกับ DUI และควบคุมตาม กม. อื่น ๆ