อากร ตามมาตรา 4 วรรค 1 พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2560
1.1 จัดเก็บอากรกับ “ของ” ที่นำเข้ามาในหรือส่งออกไปนอก “ราชอาณาจักร”
(1) ความแตกต่าง "ของ/สินค้า" ตามกฎหมายศุลกากรกับประมวลรัษฎากร
(2) ทรัพย์สินที่ไม่มีรูปร่างที่ส่งมอบโดยผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรือเครือข่ายทางอิเล็กทรอนิกส์อื่นใดสามารถจัดเก็บอากรได้หรือไม่
(3) การยื่นใบขนสินค้าและเสียอากรสำหรับพลังงานไฟฟ้า
(4) กฎหมายอื่น ๆ ที่ควบคุมทรัพย์สินที่ไม่มีรูปร่าง
(6) อากรศุลกากรจะจัดเก็บ/เสียได้ก็ต่อเมื่อมีการนำของเข้าหรือส่งออกสำเร็จ
1.2 ตามพระราชบัญญัตินี้
(1) เงินเพิ่มและเบี้ยปรับให้ถือเป็นเงินอากร
(2) ดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายคืนในกรณีคืนอากรหรือเงินประกันให้ถือเป็นอากรที่ต้องจ่ายคืน
1.2 ตามพระราชบัญญัตินี้
(1) เงินเพิ่มและเบี้ยปรับให้ถือเป็นเงินอากร
(2) ดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายคืนในกรณีคืนอากรหรือเงินประกันให้ถือเป็นอากรที่ต้องจ่ายคืน
1.3 ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร
1.4 ตามกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอากรศุลกากร
2. ราชอาณาจักรตามกฎหมายศุลกากร
2.1 ราชอาณาจักร (The Kingdom)
2.2 ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea)
2.3 เขตต่อเนื่อง (Contiguous Zone)
- ฎีกาเกี่ยวกับทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง
1.4 ตามกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอากรศุลกากร
2. ราชอาณาจักรตามกฎหมายศุลกากร
2.1 ราชอาณาจักร (The Kingdom)
2.2 ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea)
2.3 เขตต่อเนื่อง (Contiguous Zone)
- ฎีกาเกี่ยวกับทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง
2.4 เขตเศรษฐกิจจำเพาะ (Exclusive Economic Zone)
2.5 ทะเลหลวง (High Seas)
2.6 การไล่ติดตามเรือต่างชาติในทะเลหลวง
3. ประวัติของ ค่าภาษี ค่าอากร
4. ค่าธรรมเนียมและแนวคำวินิจฉัย
4.1 ค่าธรรมเนียมที่จัดเก็บตามกฎหมายศุลกากร
4.2 แนวคำวินิจฉัยเกี่ยวกับค่าธรรมเนียม
(1) การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามกฎหมายส่งเสริมการลงทุนถือว่าเป็น “ค่าภาษี” หรือ “อากร” ตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรด้วย (คณะกรรมการกฤษฎีกา เลขเสร็จที่ 83/2520 มีนาคม 2520)
(2) การหลีกเลี่ยงการเสียค่าธรรมเนียมพิเศษ ย่อมเป็นการหลีกเลี่ยงการเสียค่าภาษีหรืออากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร (คณะกรรมการกฤษฎีกา มีนาคม 2528)
(3) การหลีกเลี่ยงการชำระอากรตอบโต้การทุ่มตลาดและอากรปกป้องจากการนำเข้าสินค้าที่เพิ่มขึ้น (คณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 574/2560 พฤษภาคม 2560 อากรตอบโต้การทุ่มตลาดและอากรปกป้องไม่ถือว่าเป็นอากรตามกฎหมายศุลกากร)
(4) ฎีกาที่ 5008/2536 กรมศุลกากรมีอำนาจหน้าที่ในการเรียกเก็บหรือคืน “ค่าธรรมเนียมพิเศษ” ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งออกไปนอก ฯ ด้วยหรือไม่
2.5 ทะเลหลวง (High Seas)
2.6 การไล่ติดตามเรือต่างชาติในทะเลหลวง
3. ประวัติของ ค่าภาษี ค่าอากร
4. ค่าธรรมเนียมและแนวคำวินิจฉัย
4.1 ค่าธรรมเนียมที่จัดเก็บตามกฎหมายศุลกากร
4.2 แนวคำวินิจฉัยเกี่ยวกับค่าธรรมเนียม
(1) การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามกฎหมายส่งเสริมการลงทุนถือว่าเป็น “ค่าภาษี” หรือ “อากร” ตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรด้วย (คณะกรรมการกฤษฎีกา เลขเสร็จที่ 83/2520 มีนาคม 2520)
(2) การหลีกเลี่ยงการเสียค่าธรรมเนียมพิเศษ ย่อมเป็นการหลีกเลี่ยงการเสียค่าภาษีหรืออากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร (คณะกรรมการกฤษฎีกา มีนาคม 2528)
(3) การหลีกเลี่ยงการชำระอากรตอบโต้การทุ่มตลาดและอากรปกป้องจากการนำเข้าสินค้าที่เพิ่มขึ้น (คณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 574/2560 พฤษภาคม 2560 อากรตอบโต้การทุ่มตลาดและอากรปกป้องไม่ถือว่าเป็นอากรตามกฎหมายศุลกากร)
(4) ฎีกาที่ 5008/2536 กรมศุลกากรมีอำนาจหน้าที่ในการเรียกเก็บหรือคืน “ค่าธรรมเนียมพิเศษ” ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งออกไปนอก ฯ ด้วยหรือไม่
แก้ไขล่าสุด 06 มิ.ย. 2564
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น